Dek-D.com ใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสบการณ์ของ
ผู้ใช้ให้ดียิ่งขึ้น เรียนรู้เพิ่มเติมที่นี่
ยอมรับ

ข้อสอบม.2

ตั้งกระทู้ใหม่
ตั้งกระทู้ใหม่

แบบทดสอบ

เขียนเครื่องหมาย  X  ทับตัวอักษรหน้าคำตอบที่ถูกต้อง

๑.โคลงภาพพระราชพงศวดาร

                ๑.ข้อใดต่อไปนี้คือจุดประสงค์ในการแต่งโคลงภาพพระราชพงศวดาร

                ก.   เพื่อสรรเสริญพระเกียรติพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์

                ข.   เพื่อสรรเสริญเกียรติวีรสตรีของแผ่นดินในอดีต

                ค.   เพื่อสรรเสริญพระเกียรติของอดีตกษัตริย์และข้าราชการ

                ง.   เพื่อสรรเสริญวีรกรรมของวีรบุรุษในสงครามไทยกับพม่า

                            ขันมอญร่อนง้าวฟาด            ฉาดฉะ

ขาดแล่นคราบอุระ                                                หรุบดิ้น

โอรสรีบกันพระ                                   ศพสู่  นครแฮ

สูญชีพไปสูญสิ้น                                   พจน์ผู้สรรเสริญ

                โคลงบทที่ยกมานี้มีข้อควรสังเกตด้านฉันทลักษณ์อย่างไร

                ก.   ใช้คำตายในการส่งสัมผัสระหว่างวรรค

                ข.   มีการเล่นสัมผัสสระในบาทแรกค่อนข้างมาก

                ค.   ไม่มีคำสร้อยในบาทแรก  วรรคท้ายของโคลง

                ง.    มีการสลับตำแหน่งระหว่างคำเอกและคำโทในบาทแรก

                ๓.                            บุเรงนองนามราชเจ้า             จอมรา  มัญเฮย

                                ยกพยุหแสนยา                                       ยิ่งแกล้ว

                                มอญม่านประมวลมา                            สามสิบ  หมื่นแฮ

                                ถึงอยุธเยศแล้ว                                       หยุดใกล้นครา

 

เหตุใดผู้เขียนจึงใช้คำว่า “อยุธเยศ” ทั้งที่มีคำว่า “อยุธยา” ใช้อยู่แล้ว

ก.       เพื่อต้องการแสดงความรู้ด้านการใช้คำ

ข.       เพื่อต้องการสื่อถึงชื่อเมืองที่แท้จริง

ค.       เพื่อให้สะดวกในการอ่านทำนองเสนะ

ง.        เพื่อให้สอดคล้องกับฉันทลักษณ์

๔. โคลงบาทใดที่เมื่อพิจารณาด้านศิลปะการใช้ภาษาแล้วแตกต่างจากพวก

ก.   บุเรงนองนามราชเจ้า         จอมรา  มัญเฮย

ข.   พลไกรกองน่าเร้า              โรมรัน   กันเฮย

ค.   บังอรอัคเรศผู้                  พิสมัย  ท่านนา

ง.   ขุณมอญร่อนง้าวฟาด      ฉาดฉะ

๕.ข้อใดต่อไปนี้เป็นเหตุสำคัญที่สุดที่ทำให้พระสุริโยทัยสิ้นพระชนม์

ก.   มานมนัสกัตเวที              ยิ่งล้ำ

ข.   สารทรงซวดเซผัน           หลังแล่น  เตลิดแฮ

ค.   ขับคเชทรเข่นค้ำ             สะอึกสู้ดัสกร

ง.   ขุณมอญร่อนง้าวฟาด       ฉาดฉะ

๖.ศิลปะการใช้คำของกวีในข้อใดมีความโดดเด่นมากที่สุด

ก.   พันกราบทูลทัดด้วย       ท่นทิ้งประเพณี

ข.   ศาลสืบกฤติคุณเค้า          คติไว้ในสยาม

ค.   คลองคดโขนเรือค้ำ        ขัดไม้หักสลาย

ง.   หัวกับโขนเรือต้อง          คู่เส้นทำศาล

๗.คำกราบบังคมทูลว่า “ พันกราบทูลทัดด้วย   ท่านทิ้งประเพณี” แสดงให้เห็นคุณธรรมของพันท้ายนรสิงห์ข้อ  ใดมากที่สุด

ก.   ความรับผิดชอบ                ความกตัญญู                     ค.   ความเสียสละ                  ง.   ความเมตตา

๘.การที่พระเจ้าเสือ “ บำเหน็จให้   โทษถนอม   ใจนอ”  ทั้งต่อมายังทรง   “ เปลี่ยนโทษปลอมฟันรูปแทนพ่อ”  นั้นข้อใดต่อไปนี้เป็นเหตุผลที่ดีที่สุด ที่ทำให้พระเจ้าเสือทรงแสดงพฤติกรรมดังกล่าว

ก.   เพราะทรงรักนายท้ายเรือพระที่นั่งทุกคน

ข.   เพราะเหตุการณ์ในครั้งนี้ไม่ทำให้ทรงได้รับบาดเจ็บ

ค.   เพราะเหตุการณ์ในครั้งนี้เป็นเหตุสุดวิสัย

ง.   เพราะทรงต้อการเปลี่ยนราชประเพณี 

๙.                            “ ภูมีปลอบกลับตั้ง                               ขอบรร  ลัยพ่อ

จำสั่งเพชฌฆาตฟัน                                                ฟาดเกล้า ”

                คำประพันธ์ตอนที่ยกมานี้  แสดงให้เห็นความรู้สึกของพระเจ้าเสือในข้อใดมากที่สุด

ก.         เสียใจ                            ข.   ลำบากใจ                         ค.   น้อยใจ                             ง.   ตกใจ

๑๐.จงพิจารณาคำประพันธ์ต่อไปนี้

“ สูญชีพไป่สูญสิ้น                                พจน์ผู้สรรเสริญ ”  และ  “ ศาลสืบกฤติคุณเค้า       คติไว้ในสยาม ”

ข้อใดต่อไปนี้มิได้เป็น “ เหตุ ” ที่ทำให้เกิดคำประพันธ์ข้างต้น

ก.       ความรับผิดชอบ            ข.   ความกตัญญู                    ค.   ความเสียสละ                  ง.   ความเมตตา

๒.บทเสภาสามัคคีเสวก  ตอนวิศวกรรมาและสามัคคีเสวก

                ๑.ข้อใดต่อไปนี้ไม่มีลักษณะความสัมพันธ์ในเชิงเหตุผล

                ก.            อันชาติใดไร้ช่างชำนาญศิลป์                                               เหมือนนารินไร้โฉมบรรโลมสง่า

                ใครใครเห็นไม่เป็นที่จำเริญตา                                             เขาจะพากันเย้ยให้อับอาย

ข.               อันชาติใดไร้ศานติสุขสงบ                                   ต้องมัวรบราญรอนหาผ่อนไม่

  ชาตินั้นนรชาติไม่สนใจ                                                  ในศิลปะวิละงดงาม

ค.               ทั้งช่างรูปพรรณสุวรรณกิจ                                  ช่างประดิษฐ์รัชดาสง่าผ่อง                   

อีกช่างถมลายลักษณะจำลอง                                                               อีกช่ำชองเชิงรัตนประกร

ง.                 แต่ชาติใดรุ่งเรืองเมืองสงบ                                  ว่างการรบอริพลอันล้มหลาม

ย่อมจำนงศิลปาสง่างาม                                                         เพื่ออร่ามเรืองระยับประดับประดา

๒.           “ ทั้งช่างปั้นช่างเขียนเพียรวิชา                                            อีกช่างสถาปนาถูกทำนอง

    ทั้งช่างรูปพรรณสุวรรณกิจ                                                              ช่างประดิษฐ์รัชดาสง่าผ่อง ”

                ข้อใดต่อไปนี้มิได้กล่าวถึงในคำประพันธ์ข้างต้น

ก.         ช่างทำเครื่องเงิน          ข.   ช่างทำทอง                       ค.   ช่างก่อสร้าง                     ง.   ช่างพลอย

๓.ข้อใดมีลักษณะของการโน้มน้าวใจผู้ฟัง

ก.   เราต้องซื้อหลากหลายและมากมาย                                                               ต้องใช้ทรัพย์สุรุ่ยสุร่ายเป็นก่ายกอง

ข.   แม้ผู้ใดไม่นิยมชมสิ่งงาม                                                                                เมื่อถึงยามเศร้าอุราน่าสงสาร

ค.   เราช่วยช่างเหมือนอย่างช่วยบ้านเมือง                                          ให้ประเทืองเทศไทยอันไพศาล

ง.   ควรไทยเราช่วยบำรุงวิชาช่าง                                                         เครื่องสำอางแบบไทยสโมสร

๔.            อันของชาติไพรัชช่างจัดสรร                                                               เป็นหลายอย่างต่างพรรณเข้ามาขาย

เราต้องซื้อหลากหลายและมากมาย                                                      ต้องใช้ทรัพย์สุรุ่ยสุร่ายเป็นก่ายกอง

บทประพันธ์ข้างต้นมีความหมายสอดคล้องกับข้อใด

ก.         สมดุล                           ข.  ขาดดุล                              ค.  เกินขาด                             ง.   งบดุล

๕.เหตุใดพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวหัว  จึงเปรียบเทียบผู้ที่ดูถูกงานช่างว่าเป็น “ เหมือนคนป่าคนไพรไม่รุ่งเรือง ”

ก.   เพราะคนป่าคนไพรมีจิตใจมโหด          ข.   เพราะคนป่าคนไพรย่อมไม่เข้าใจอารยธรรม

ค.   เพราะคนป่าคนไพรไร้ค่าไร้ศักดิ์ศรี                             ค.   เพราะคนป่าคนไพรไม่สามารถพูดภาษามาตรฐานได้

๖.ข้อใดคำวิกตรรถกริยา

ก.   เมื่อคลื่นลมแรงจักซัดโซเซ                                                            เรือจะเหล่มคว่ำไป

ข.   นายจะสั่งสิ่งใดไม่เข้าจิต                                                                                จะต้องติดตันใจให้ขัดขวาง

ค.   แม้ลุกเรืออวดดีมีทิฐิ                                                                       และเริ่มริเฉโกยุ่งเยโย

ง.   ประการหนึ่งพึงคิดในจิตมั่น                                                          ว่าทรงธรรม์เหมือนบิดาบังเกิดหัว

๗.ข้อใดมิใช่จุดประสงค์ในการแต่งบทสามัคคีเสวก

ก.   ประการหนึ่งพึ่งคิดในจิตมั่น                                                         ว่าทรงธรรม์เหมือนบิดาบังเกิดหัว

ข.   คอยตั้งใจฟังบังคับกัปปิตัน                                                           นาวานั้นจึ่งจะรอดตลอดทะเล

ค.   นายจะสั่งสิ่งใดไม่เข้าจิต                                                                                จะต้องติดตันใจให้ขัดขวาง

ง.   รักษาตนเคร่งคงตรงวินัย                                                                                สมานใจจงรักพระจักรี

๘.ข้อใดแสดงความสัมพันธ์ไม่ถูกต้อง

ก.   นายเรือ -พระมหากษัตริย์                                              ข.   ลูกเรือ – ราชการชั้นสูง                                                 

ค.  นาวา – ประเทศ                                                                ง.   การบังคับเรือ – การบริหารประเทศ                             

๙.ภาพพจน์ในข้อ ๘สอดคล้องกับข้อใดต่อไปนี้

ก.   พาสติกชิ้นนี้แข็งราวกับเหล็ก                        ข.   นักศึกษาลูกแม่โดมมาชุมนุมรำลึกอดีต

ต.   หยาดน้ำค้างตอนเช้างามประหนึ่งเพชรเม็ดงาม           ง.   เสียงทะเลเรียกให้ชายหนุ่มคิดถึงอดีต

๑๐. “เหล่าเสวกตกที่กะลาสี     ควรคิดถึงหน้าที่นั้นเป็นใหญ่” ข้อใดอ่านออกเสียงลักษณะเดียวกับคำที่ขีดเส้นใต้

ก.   ถนน                                 ข.   พิมาน                               ค.   เอนก                                                ง.   แผนก

๓.ศิลาจารึกหลักที่ ๑

                ๑.ข้อความใดต่อไปนี้เป็นภาษาวรรณศิลป์

                ก.   เมื่อกูขึ้นใหญ่ได้สิบเก้าเข้า                                             ข.   เพื่อนจูงวัวไปค้า  ขี่ม้าไปขาย

                ค.   พี่กูคายจึ่งได้เมืองแก่กูทั้งกลม                                       ง.   ขุนสามชนเจ้าเมืองฉอดมาท่เมืองตาก

                ๒.ข้อใดต่อไปนี้มิใช่คำยืมจากภาษาเขมร          

                ก.   ขดาร                                                ข.   โอยทาน                          ค.   พนม                                 ง.   ศรัทธา

               

๓.ข้อใดมิใช่ประโยชน์ของการศึกษาศิลาจารึก

                ก.   ทำให้ทราบประวัติศาสตร์ของกรุงสุโขทัย                  ข.   ทำให้ทราบลักษณะทางวัฒนธรรมของคนสุโขทัย

                ค.   ทำให้เข้าใจพระราชประวัติของพ่อขุนรามคำแหง      ง.   ทำให้เข้าใจการสถาปนาพระพุทธสาสนาในอดีต

                ๔.บ่มีช้าง  บ่มีม้า  บ่มีปั่ว  บ่มีนาง  บ่มีเงือน  บ่มีทอง  ลักษณะการใช้ภาษาข้างต้นสอดคล้องกับข้อใด

                ก.   ตูพี่น้องท้องเดียวกันห้าคน  ผู้ชายสาม  ผู้หญิงโสง        ข.   ตนกูพุ่งช้างขุนวามชนตัวชื่อมาสเมืองแพ้

                ค.   เมื่อชั่วพ่อกู กูบำเรอแก่พ่อกู กูบำเรอแก่แม่กู                               ง.   ไพร่ฟ่าหน้าใสพ่อกูหนีญญ่ายพ่ายจแจ้น

                ๕.ข้อใดมีคำที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของภาษา

                ก.   กูพร่ำบำเรอแก่พี่กู ดั่งบำเรอแก่พ่อกู                             ข.   พ่อกูไปรบขุนสามชน

                ค.   แม่กูชื่องนางเสือง  พ่อกูชื่อบานเมือง                            ง.   กูขับเข้าก่อนพ่อกู

                ๖.ข้อใดต่อไปนี้แสดงให้เห้นความกตัญญูของพ่อขุนรามคำแหงมากที่สุด

                ก.   กูได้ตัวเนื้อตัวปลา  กูเอามาแก่พ่อกู                                              ข.   เมื่อชั่วพ่อกู กูบำเรอแก่พ่อกู

                ค.   กูขี่ช้างเบกพล  กูขับเข้าก่อนพ่อกู                                 ง.   ได้เงือนได้ทอง  กูเอามาเวนแก่พ่อกู

                ๗.ข้อใดแสดงความขัดแย้ง

                ก.   พี่กูตายจึ่งได้เมืองแก่กูทั้งกลม                                       ข.   กูขับก่อนพ่อกู กูต่อช้างด้วยขุนวามชน

                ค.   กูพร่ำบำเรอแก่พี่กูดั่งบำเรอแก่พ่อกู                                              ง.   กูได้หมากส้มหมากหวานอันใดกินอร่อยกินดี

                ๘.ข้อใดไม่ถูกต้อง

                ก.  แม่ทัพไทยยกกองทัพไปท่พม่า                                      ข.   แม่นากพระโขนงเป็นผีตาบทั้งกลม

                ค.   พระเนศวรต่อช้างกับพระมหาอุปราชา                        ง.   ปีนี้คุณย่าขึ้นใหญ่กว่า ๙๐ ปี

                ๙.  “ กูได้ตัวเนื้อตัวปลา   กูเอามาแก่พ่อกู   กูได้หมากหวานอันใดกินอร่อยกินดี  กูเอามามาแก่พ่อกู ”

ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับข้อความข้างต้น 

 

 

ก.       ประโยคความเดียวทั้งหมด                                          ข.   ประกอบด้วยประโยคความรวมและความเดียว

ค.   ประกอบด้วยประโยคความซ้อนและความเดียว         ง.  ประกอบด้วยประโยคความรวมและความซ้อน

๑๐.ข้อใดไม่มีคำสรรพนาม

ก.   พี่เผือผู้อ้ายตายจากเผือเตียมแต่เล็ก                                                ข.   ตูมีพี่น้องท้องเดียวกันห้าคน

ค.   ไปท่บ้านท่เมืองได้ช้างได้งวง                                        ง.   ตนกูพุ่งช้างขุนสามชน

๔.รามเกียรติ์  ตอนนารายณ์ปราบนนทก

                ๑. ข้อใดเป็นสาเหตุที่ทำให้นนทกไปขอนิ้วเพชรจากพระอิศวร

ก.    บ้างให้ตักน้ำล้างบาทา                                                   บ้างถอนเส้นเกศาวุ่นไป

ข.    เป็นชายดูดูมาหมิ่นชาย                                                  มิตายก้อจะได้เห็นหน้า

ต.   จนผมโกร๋นเกลัยงถึงเพียงหู                                          ดูเงาในน้ำแล้วร้องไห้

ง.   ฮึดฮัดขัดแค้นแน่นใจ                                                      ตาแดงดั่งแสงไฟฟ้า

๒.                           เมื่อนั้น                                                    พระอิศวรบรมรังสรรค์

เห็นนนทกโศกาจาบัลย์                                        พระทรงธรรม์ให้คิดเมตตา

จึ่งมีเทวราชบรรหาร                                             เอ็งต้องการสิ่งไรจงเร่งว่า

ตัวกูจะให้ดั่งจินดา                                                                อย่าแสนโศกาอาลัย              

                คำประพันธ์ข้างต้นแสดงให้เห็นข้อบกพร่องของพระอิศวรข้อใดมากที่สุด

ก.       ขาดความรับผิดชอบ                                             ข.   ขาดความไตร่ตรอง

ค.    ขาดสติสัมปชัญญะ                                                                ง.   ขาดสมาธิ

                ๓.                            เมื่อนั้น                                                    หัสนัยน์เจ้าตรัยตรึงศา

                                เห็นนนทกนั้นทำฤทธา                                         ชี้หมู่เทวาวายปราณ

                                ตกใจตะลึงรำพึงคิด                                                              ใครประสิทธิ์ให้มันสังหาร

                                คิดแล้วขึ้นเฝ้าพระทรงญาณ                                 ยังพิมานรัตน์รูจี

คำประพันธ์ข้างต้นกล่าวถึงเทพองค์ใดบ้าง

ก.         พระพรหม  พระอิศวร                                                   ข.   พระนารายณ์   พระอินทร์

ค.      พระอินทร์  พระอิศวร                                                    ง. พระอิศวร พระพรหม

๔.                  เมื่อนั้น                                                                 เทวาสุราฤทธิ์ทุกทิศา

            สุบรรณคนธรรพ์วิทยา                                                 ต่างมาเฝ้าองค์พระศุลี                                           

        ฯ .....คำ  ฯ...........

ควรเติมคำใดลงในช่องว่าง

ก.        ๒ คำ ,โอด                    ข.   ๔คำ , เสมอ                      ค.   ๒คำ  , เหาะ     ง.   ๔ คำ , เชิด

๕.            ตรัสแล้วจึ่งมีบัญชา                                              ดูราพระนารายณ์เรืองศรี

ตัวเจ้าผู้มีฤทธี                                                                         เป็นที่พึ่งแก่หมู่เทวัญ

จงช่วยระงับดับเข็ญ                                                              ให้เย็นทั่วพิภพสรวงสวรรค์

เชิญไปสังหารอ้ายอาธรรม์                                                   ให้มันสิ้นชิพชีวา

ข้อใดต่อไปนี้เป็นสาเหตุที่ทำให้พระอิศวรตรัสดังกล่าว

ก.        มันกลับทรยศกระบถใจ                                              ทำการหยาบใหญ่ถึงเพียงนี้

ข.       จึ่งทำอาจองทะนงใจ                                                     ไม่เกรงใต้เบื้องบาทา

ค.       ตกใจตะลึงรำพึงคิด                                                      ใครประสิทธิ์ให้มันสังหาร

ง.        กริ้วโกรธร้องประกาสตวาดมา                                    อนิจจาข่มเหงเล่นทุกวัน

เทพนมปฐมพรหมสี่หน้า                                      สอดสร้อยมาลาเฉิดฉิน

ทั้งกวางเดินดงหงส์บิน                                                         กินรินเลียบถ้ำอำไพ

                คำประพันธ์ข้างต้นมีความสำคัญอย่างไร

ก.       เป็นการกล่าวถึงความงดงามของพระนารายณ์           ข.  เป็นการชมธรรมชาติที่โดดเด่นมาก

ข.       เป็นบทร้องสำหรับผู้หัดร้องเพลงไทยเดิม                  ง.   เป็นท่ารำแม่บท   สำหรับหัดร่ายรำ

๗.การที่นนทกกล่าวต่อพระนรายณ์ว่า

                “ เหตุใดมิทำซึ่งหน้า                                              มารยาเป็นหญิงไม่บัดสี

ฤาว่ากลัวนิ้วเพชรนี้                                                                               จะชี้พระองค์ให้บรรลัย

ตัวข้ามีมือแต่สองมือ                                                             ฤาจะสู้ทั้งสี่กรได้

แม้นสี่มือเหมือนพระองค์ทรงชัย                                        ที่ไหนจะทำได้ดั่งนี้ ”

นักเรียนเห็นด้วยกับคำของนนทกหรือไม่  เพราะเหตุใด

ก.       เห็นด้วย     เพราะการกระทำของพระนารายณ์ไม่เหมาะสมกับฐานะของพระผู้เป็นเจ้า

ข.       ไม่เห็นด้วย   เพราะนนทกเจ้าเล่ห์ ต้องหากลวิธีปราบไม่ให้รู้ตัว

ค.       เห็นด้วย   เพราะนนทกรู้สึกว่าควรให้พระศิวรฆ่ามากกว่าพระนารายณ์

ง.        ไม่เห็นด้วย    เพราะนนทกมีนิ้วเพชรที่อันตราย  ถ้าพระนารายณ์ไม่ปลอบตัวจะกำจัดนนทกได้อยาก

๘.ข้อใดเป็น  “พันธสัญญา”  ที่ทำให้ทั้งพระนารายณ์และนนทกต้องมาพบกันอีกในชาติต่อมา

ก.            ครั้นแล้วนนทกมรณา                                           พระจักราผู้มีอัชฌาสัย

เหาะระเห็จเตร็ดฟ้าด้วยว่องไว                                             ไปยังกระเษียรวารี

                ข.              ชาตินี้มีแต่สองหัตถ์                                         จงไปอุบัติเอาชาติใหม่

                     ให้สิบเศียรสิบพักตร์เกรียงไกร                                      เหาะเหินเดินได้ในอัมพร

ค.            ตัวข้ามีมือแต่สองมือ                                                                ฤาจะสู้ทั้งสี่กรได้

แม้นสี่มือเหมือนพระองค์ทรงชัย                                        ที่ไหนจะทำได้ดั่งนี้              

ง.               ตัวกูก็คิดเมตตา                                                       แต่จะไว้ชีวาไม่ได้

 ตรัสแล้วแกว่งตรีเกรียงไกล                                                                แสงกระจายพรายไปดั้งไฟกาล

๙.              สุดเอยสุดสวาท                                                    โฉมประหลาดล้ำเทพอัปสร

ทั้งวาจาจริตก็งามงอน                                                           ควรเป็นนางฟ้าฟ้อนวิไลลักษณ์

อันซึ่งธุระของเจ้า                                                                    หนักเบาจงแจ้งประจักษ์

ถ้าวาสนา                เคยบำรุงรัก                                                            ก็จะเป็นภักษ์ผลสืบไป

ตัวพี่มิได้ลวนลาม                                                                 จะถือความสิ่งนี้นี่ไม่ได้

สาวสวรรค์ขวัญฟ้ายาใจ                                                        พี่ไร้คู่จะพึ่งแต่ไมตรี

ลีลาที่ใช้การประพันธ์คำประพันธ์นี้คือข้อใด

                ก.   เสารจนีย์                             ข. นารีปราโมทย์                                  ค. พิโรธวาทัง                        ง. สัลสาปังคพิสัย

                ๑๐.ข้อต่อไปนี้ไม่สัมพันธ์กัน

ก. พระอินทร์ – ตรัยตรึงศา                                                                  ข.  พระนารายณ์  - กระเษียรวารี         

ค.  พระราม – กรุงลพบุรี                                                                      ง. ท้าวลัสเตียน – กรุงลงกา

๕.กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง

๑.                            สุขเกษมเปรมหน้าเหลือบ                                     ลืมหลัง

                แสนสนุกปลุกใจหวัง                                                            วิ่งหรี้

                เดินร่ายผายผันยัง                                                                   ชายป่า

                หัวร่อรื่นชื่นชี้                                                                        ส่องนิ้วชวนแล

ข้อควรสังเกตของคำประพันธ์ข้างต้นคืออะไร

ก.       มีคำเลียนเสียงธรรมชาติ สร้างความไพเราะ                                                  ข.  สร้างจินตภาพให้กับผู้อ่าน

ค.    มีการใช้คำที่ดัดแปลงรูปให้ตรงกับฉันทลักษณ์                           ง.   ใช้โวหารเปรียบเทียบที่คมคาย

๒.                                           ดูงูขู่ฝูดฝู                                                    พรูพรู

                                หนูสู่รูงูงู                                                                   สุดสู้

                                งูสู้หนูหนูสู้                                                               งูอยู่

                                หนุรู้งูงูรู้                                                                    รูปถู้มูทู

ข้อใดอาจเป็นจุดอ่อนนของคำประพันธ์บทนี้

                ก. กลวิธีทางวรรณศิลป์             ข.   จินตภาพ               ค.   เนื้อความ               ง.   คุณค่าด้านภาษา               

                ๓.ข้อใดสามารถอธิบายลักษณะของสัตว์ได้ดีที่สุด

                ก.                            หัวลิงหมากลางลิง                                                   ต้นลางลิงแลหูลิง

                                ลิงไต่กระไดลิง                                                                        ลิงโลดคว้าประสาลิง

                ข.                            ธารไหลใสสะอาด                                                   มัจฉาชาติดาษนานา

หวั่นว่ายกินไคลคลา                                                                ตามกันมาให้เห็นตัว

 

ค.                            นกแก้วแจ้วเสียงใส                                                                  คลอไคล้คู่หมู่สาลิกา

นกตั้วผัวเมียคลา                                                                        ฝ่าแขกเต้าเหล่าโนรี

 

ง.                             ไก่ฟ้าอ้าสดแสง                                                          หัวสุกแดงแทงเดือยแนม

ปีกหางต่างสีเแกม                                                                      สีแต้มต่างอย่างวาดเขียน

 

                ๔.ข้อใดต่อไปนี้ไม่เข้าพวก

 

ก.                            นกแก้วแจ้วรี่ร้อง                                                   เร่หา

ข.                            ไก่ฟ้าหน้าก่ำกล้า                                                   ปากแหลม

ค.                            กระจายสยายคลี่ซร้อง                                          นงพนา  

                ง.                             กระจงกระจิดหน้า                                                เอ็นดู

               

๕.ข้อใดต่อไปนี้ใช้สำนวนภาษาที่มีศิลปะมากที่สุด

 

ก.                            ไก่ฟ้าหน้าก่ำกล้า                                                   ปากแหลม

ข.                            หัวแดงแฝงเดือยแนม                                            เนื่องแข้ง

 

ค.                            ปีกหางต่างสีแกม                                                   ลายลวด

 

ง.                             ตัวต่างอย่างคนแกล้ง                                             แต่งแต้มขีดเขียน

 

 

 

๖.ข้อใดคือคุณค่าของกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงที่เด่นชัดที่สุด

 

ก.   การให้ความร็ด้านธรรมชาติวิทยา                                                 ข.   อลังการของภาษา

 

ค.   สืบค่าด้านประวัติศาสตร์                                                                                ง.   ขนบการประพาสของกษัตริย์

 

๗.                                            ฝูงลิงยวบยาบต้น                                   พวาหนา

ฝูงชะนีมี่กู่หา                                                                          เปล่าข้าง

 

ฝูงค่างหว่างพฤกษา                                                                มาสู่

 

ครอกแครกไล่ไขว่คว้าง                                                       โลดเลี้ยวโจนปลิว

 

ก. บทที่ ๑  ภาพพจน์อุปมา                                   ข. ๒ ภาพพจน์บุคคลวัต      

 

ค. ๓ ภาพพจน์อุปลักษณ์                                      ง. ๔  ภาพพจน์สัทพจน์

 

๘.                            งูเขียวแลเหลื้อมพ่น                                               พิษพลัน

ตุ๊กแกคางแข็งขยัน                                                                                คาบไว้

 

กัดงูงูเร่งพัน                                                                           ขนดเครียด

 

ปากอ้างูจึงได้                                                                         ลากล้วงตับกิน

 

โครงบทข้างต้นสอดคล้องกับสำนวนสุภาษิตใด

 

ก. งูกินหาง                                             ข. น้ำมาปลากินมด น้ำลดมดกินปลา     

 

ค. สาวไส้ให้กากิน                                 ง. ปลาใหญ่กินปลาเล็ก        

 

                ๙.ข้อใดต่อไปนี้แตกต่างจากพวก

               

                ก.            สไบบางนางสีดา                                    ห่อห้อย

 

ข.            มีเคี้ยวขาวน้อยช้อย                                               แนบข้างเคียงสอง

.            แสนสนุกปลุกใจหวัง                                            วิ่งหรี้

               

ง.             มัจฉาชาตินานา                                                      หวั่นหว้าย

๑๐.                          ยูงทองย่องย่างเยื้อง                              รำฉวาง

รายร่ายฟ่ายเฟื่องฟาง                                             เฉิดหน้า

 

ปากหงอนอ่อนสำอาง                                           ลายเลิศ

 

รำเล่นเต้นงามหง้า                                                  ปีกป้องเป็นเพลง

 

โคลงบทนี้มีความโดดเด่นด้านใดมากที่สุด

 

ก.   การสร้างอารมณ์ที่เป็นสุขเพราะได้ชมธรรมชาติ

 

ข.   การใช้ถ้อยคำที่สั้นๆ ทำให้เกิดจังหวะกระชับ

 

ค.   การสร้างจินคภาพที่ทำให้เห็นการเคลื่อนไหว

 

ง.   การนำเสนอข้อมูลด้านชีววิทยาของสัตว์ปีก

 

๖.โคลงสุภาษิต พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์

               

                ๑.                            ปัญญาสติล้ำ                                                           เลิศญาณ 

 

อำนาจศักดิ์ศฤงคาร                                                                มั่งขั้ง 

 

มารยาทเรียบเสี่ยมสาร                                                           เสงี่ยมเงื่อน งามนอ 

 

สามสิ่งจักควรตั้ง                                                                   แต่ซ้องสรรเสริญ 

 

ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับโคลงบทนี้

 

                ก.  สามสิ่งควรชม  คือ  ปัญญา  เกียรติยศ  มารยาท            ข.  สามสิ่งควรชม  คือ   ญาณ  ศฤงคาร  สรรเสริญ

 

                ค.  สามสิ่งควรชม  คือ   งาม  มั่งคง  อำนาจ                         ง. สามสิ่งควรชม  คือ  ศักดิ์ศรี  ปัญญา  ทรัพย์

                ๒.ข้อใดไม่ได้กล่าวถึง “ จิตใจ ”

 

                ก.            ใจโปร่งปราศราคี                                                  ขุ่นข้อง

 

                ข.            จิตแผ่วผ่องสำราญ                                                 รมยสุข   เกษมแฮ

 

                ค.            ความรีกประจักษ์ใจ                                              จริงแน่  นอนฤา

 

                ง.             จิตสะอาดปราศสิ่งพะวง                                       วุ่นขุ่น  หมองแฮ

 

                ๓.ข้อใดเมื่อเกิดขึ้นในจิตใจขอบุคคลแล้ว  ย่อมระงับความขัดแย้งทั้งปวงได้

 

                ก.            หนึ่งยุติธรรมไป่มี                                                 เลือกผู้

 

ข.            มารยาทเรียนเสี่ยมสาน                                          เสงี่ยมเงื่อน   งามนอ

 

ค.            จิตสะอาดปราศสิ่งพะวง                                       วุ่นขุ่น  หมองแฮ

 

ง.             มากเพื่อนผู้วานการ                                                               ชีพได้

 

๔.            ๑.    สุขกายวายโรคร้อน                                       รำคาญ

                ๒.   มากเพื่อนผู้วานการ                                        ชีพได้

                ๓.   จิตแผ่วผ่องสำราญ                                          รมยสุข   เกษมแฮ

                ๔.    สามสิ่งควรจักให้                                           รีบร้อนปรารถนา

 

เมื่อพิจารณาโคลงข้างต้น สิ่งใดควรปรารถนามากที่สุด

 

ก.                                          ข.                                         ค.                                         ง.  

 

๕.            ๑.ปัญญาสติล้ำ                                                       เลิศญาณ 

๒.อำนาจศักดิ์ศฤงคาร                                            มั่งขั้ง 

๓.มารยาทเรียบเสี่ยมสาร                                       เสงี่ยมเงื่อน งามนอ 

๔.สามสิ่งจักควรตั้ง                                                               แต่ซ้องสรรเสริญ 

                เมื่อพิจารณาโคลงบทนี้  สิ่งใดที่ควรชื่นชมมากที่สุด

               

ก.                                          ข.                                         ค.                                         ง.  

                ๖.ข้อใดมิได้กล่าวถึงความสำคัญของเพื่อน

               

                ก.            เว้นบาปเสนาะกัลป์ยาณ์                                                        มิตรไว้

 

                ข.            คนรักร่วมอัธยา -                                                                   ศัยสุข  ทุกข์แฮ

 

                ค.            เป็สุขโสดตนรัก                                                                    การชอบ  ธรรทนา

 

                ง.             มากเพื่อนผู้วานการ                                                                               ชีพได้

 

                ๗.                            คำยอยกย่องเพี้ยน                                                 ทุกประการ

               

พักตร์จิตผิดกันประมาณ                                                      ยากรู้

 

เร็วรัดผลัดพลันขาน                                                              คำกลับ  พลันฤา

 

สามส่วนควรแล้วผู้                                                                                พะพ้องพึงแคลง

 

โคลงบทนี่ใช้ศิลปะการประพันธ์ที่ทำให้เกิดความไพเราะอย่างไร

                               

                ก.  ใช้คำเป็นคำตายสลับกันทำให้ได้ดุลของเสียง                              ข.   ใช้คำที่กร่อนเสียงคำและทำให้เกิดจังหวะ

 

                ค.   ใช้สัมผัสเสียงพยัญชนะค่อนข้างมาก                            ง.   สร้างสัมผัสเสียงสระภายในวรรณยุกต์ทุกๆบท

 

                ๘.บุคคลประเภทใดต่อไปนี้ทีไม่ควรคบค้าสมาคมด้วย

 

                ก.            เกียจคร้านการงานทั้ง                                                            การตนก้อดี

                ข.            ทุจริตมารยาปน                                                                     ปกไว้

ค.            ใจบาปจิตหยาบร้าย                                                                               ทารุณ

ง.             พูดมากเปล่าเปลืองตน                                                          ปดเหล้น

 

๙.                            “ มัจฉาชาตินานา                                                   หวั่นหว้าย ”

                                โคลงบทข้างตนนี้สอดคล้องกับข้อใด

 

                ก.            ศาสนาสนสั่งให้                                                                     ประพฤติดี

                ข.            ศรัทธาทำจิตมั่น                                                                                     คงตรง

                ค.            สุขกายวายโลกร้อน                                                              รำคาญ

                ง.             สุจริตจิตโอบออ้ม                                                                 อารี

               

                ๑๐. ข้อใดสอดคล้องกับคติที่ว่า  “ จงอย่าประมาณ “

                ก. ฉลาดยิ่งสิ่งแยบคาย                          คาดรู้

                ข. หนึ่งยุตธรรมไป่มี                             เลือกผู้

                ค. สิ่งใดในโลกล้วน                             เปลี่ยนแปลง

                ง. หนึ่งขาดปราศโทสา                          คติห่อ ใจเฮย

               

 โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ

 

๑๑. ข้อใดต่อไปนี้หมายถึงการคิดไตร่ตรองและมีวิจารณญาณ

ก. ปางเมื่อยังโกรธา                               ขุ่นแค้น

ข. ใครเกะกะระราน                              อดกลั้น

ค. ฟังตอบขอบคำไข                            คิดใคร่   ครวญนา

ง. สามารถอาจห้ามงด                            วาจา   ตนเฮย

 

๑๒.      พาทีมีสติรั้ง                                               รอคิด

รอบคอบชอบแลผิด                                             ก่อนพร้อง

คำพูดพ่างลิขิต                                                       เขียนร่าง  เรียงแฮ

ฟังเพราะเสนาะต้อง                                               โสตทั้งห่างภัย

ผู้ใดสมควรนำคำสอนอต่อไปนี้มาปฏิบัติมากที่สุด

ก. นักกีฬา                                              ข. พิธีกร  ผู้ประกาศทางโทรทัศน์

ค. นักธุรกิจ  พ่อค้า แม่ค้า                      ง. ข้าราชการ ทหาร ตำรวจ

 

๑๓. สันติถูกน้องชายต่อว่าด้วยถ้อยคำที่รุนแรงแต่เขาไม่โกรธ  สันติปฏิบัติตามสุภาษิตข้อใด

                   ก.  รอบคอบชอบแลผิด                                     ก่อนพร้อง

                 ข.  ทำคุณอุดหนุนใน                                           การชอบ   ธรรมนา

                 ค. ขันติมีมากหมั้น                                                                สันดาน

                  ง. ไป่หมิ่นนินทาบ้าย                                          โทษให้ผู้ใด

 

๑๔. จากข้อ ๑๓ ถ้าน้องชายสันติสำนึกผิดและมาขอโทษ   แสดงส่าน้องชายของสันติประพฤติตามหลักสุภาษิตใด

                  ก. พาทีมีสติรั้ง                                     รอคิด

                 ข. อีกหนึ่งไป่เชื่อถ้อย                          คำคน  ลือแฮ

                 ค. หย่อนทิฐิมานะ                                                อ่อนน้อม

                  ง. เหินห่างดมหะร้อน                          ริษยา

 

๑๕. ข้อใดคือการปฏิบัติตามหลัก    “ กาลามสูตร ”

                  ก. ขอโทษเพื่อคารวะ                                          วายบาด หมางแฮ

                 ข. สามารถอาจห้ามงด                                          วาจา ตนแฮ

                 ค. อีกหนึ่งไป่เชื่อถ้อย                                          คำคน ลือแอ

                 ง.   ทำคุณอุดหนุนใน                                           การชอบ  ธรรมนา

 

๑๖. ข้อใดสอดคล้องกับสำนวน  “  สำเนียงส่อภาษา   กิริยาส่อสกุล ”  มากที่สุด

                ก.   เหินห่างโมหะร้อน                                         ริษยา

                ข.   สละส่อเสียดมารยา                                         ใส่ร้าย

                ค.   คำหยาบจาบจ้วงอา -                                       ฆาตขู่  เข็ญเฮย

                ง.   ไป่หมิ่นนินทาบ้าย                                          โทษให้ผู้ใด

โคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ

๑๗.  ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับวรรณคดีเรื่อง  อิศปปกรณำ

                ก.  มีต้นเค้ามาจากชาติกรีกเมื่อกว่าพันปีก่อน

                ข.  ใช้เป็นแบบสอนอ่านสำหรับนักเรียนในอดีต

                ค.   ปรากฏสำนวนไทยครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่๕

                ง.    ทุกบทจะมีการแต่งคติกาพย์เพื่อสรุปข้อคิด

๑๘.   การที่ ชาติบ้านเมืองจะตั้งอยู่ได้  ควรยึดหลักการในข้อต่อไปนี้

                ก.   สบเคราะห์คราวขัดสน                                   สุดรู้

                ข.   หาญหักเอาจนได้                                            ดั้งข้อเขาเอาประสงค์

                ค.   โฉดช้าอุตส่าห์หาญ                                         ห่อนหยุด ยั้งเฮย   

                ง.    ร่วมสู้ร่วมรักษา                                              จิตร่วม  รวมแฮ

 

๑๙.             ชาติกักขฬะคุร้าย                                                สันดาน

                   คงจะหาสิ่งพาล                                                   โทษให้

                 ถึงจะกล่าวคำหวาน                                              คำชอบก็ดี

                 หาญหักเอาจนได้                                  ดั้งข้อเขาประสงค์

ข้อใดคือการสรุปโคลงข้างต้นที่ดีที่สุด

ก.   คนพาลมักพูดคำหวานก่อนเสมอ                                  ข.   คนพาลย่อมพาลอยู่วันยังค่ำ

ค.   คนพาลเป็นคนดุร้ายโดยสันดาน                                  ง.    คนพาลย่อมทำลายผู้อื่น

 

๒๐.  ในสังคมปัจจุบัน  คนที่มีลักษณะเช่นใดน่ากลัวที่สุด

ก.   ชาติกักขฬะดุร้าย                                            สันดาน

ข.   เชื้อวงศ์วายรักร้อย                                          ริษยา  กันเฮย

ค.   อย่าควรประมาณผู้                                          ทุรพล

ง.    โฉดช้าอุตส่าห์หาญ                                        ห่อนหยุด   ยั้งเฮย  

๗.กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า

 

๑.                      “ วังเอ๋ยวังเวง                                               หง่างเหง่ง ย่ำค่ำระฆังขาน

ฝูงควายผ้ายลาทิวากาล                                                          ค่อยค่อยผ่านท้องทุ่งมุ่งถิ่นตน ”

 

 ข้อใดใช้โวหารภาพพจน์เช่นเดียวกับคำประพันธ์ข้างต้น

ก.            หมดเอ่ยหมดห่วง                                                  หมดดวงวิญญาณลาญสลาย

  ถึงลมเช้าชวยชื่นรื่นสบาย                                                   เตือนนกแอ่นลมผายแผดลำพึง

ข.            ตัวเอ๋ยตัวสะท้าน                                                   อย่าบันดานดลใจให้ใฝ่ฝัน

                  ดุถูกกิจชาวนาสารพัน                                                         และความครอบครองกันอันชื้นบาน

ค.           นกเอ่ยนกแสก                                                        จับจ้องร้องแจ๊กเพียงแถกขวัญ

อยู่บนยอดหอระฆังบังแสงจันทร์                                       มีเถาวัลย์รุงรังถึงหลังคา

ง.           ทอดเอ่ยทอดทิ้ง                                                      ยามหนาวผิงไฟล้อมอยู่พร้อมหน้า

ทิ้งเพื่อนยากแม่เย้าหาข้าวปลา                                              ทุกเวลาเช้าเย็นเป็นนิรันดร์  

                 ๒.     “ ต้นเอยต้นไทร                                                         สูงใหญ่รากย้อยห้อยระยา

และต้นโพธิ์พุ่มแจ้แผ่ฉายา                                                    มีเนินหญ้าใต้ต้นเกลื่อนกล่นไป

ล้วนร่างคนในเขตประเทศนี้                                                                ดุษณีนอนราย  ณ ภายใต้

แห่งหลุมลึกลานสลดระหดใจ                                             เรายิ่งใกล้หลุมนั้นทุกวันเอย”

ความรู้สึกของผู้แต่งคำประพันธ์บทนี้ตรงกับข้อใด

ก.   สงสาร                                 ข.   ปลงตก                                           ค.   ทุกข์               ง.  หมดความหวัง

๓.   ข้อใดต่อไปนี้สามารถให้ภาพธรรมชาติยามเช้าได้ชัดเจนที่สุด

ก.    ฝูงวัวควายผ้ายลาทิวากาล                                              ค่อยค่อยผ่านท้องทุ่งมุ่งถิ่นตน

ข.    คอกควายวัวรัวเกราะเปาะเปาะ! เพียง                         รู้ว่าเสียงเกราะแว่วแผ่วแผ่วเอย

ค.    เข้ากอดคอฉอเลาะเสนาะกรรณ                                   สารพันทอดทิ้งทุกสิ่งเอย

ง.    อยู่ตามโรงมุงฟางข้างข้างนั้น                                        ทั้งไก่ขันแข่งดุเหว่าระเร้าเสียง

 

๔.   สกุลเอยสกุลสูง                                              ชักจูงจิตฟูชูศักดิ์ศรี

อำนาจนำความสง่าอ่าอินทรีย์                                               ความงามนำให้มีไมตรีกัน

ความร่ำรวยอวยสุขให้ทุกอย่าง                            เหล่านี้ต่างรอตายทำลายขันธ์

วีถีแห่งเกียรติยศทั้งหมดนั้น                                 แต่ล้วนผันมาประจบหลุมศพเอย

ข้อใดเป็นข้อสรุปที่ดีที่สุดของกลอนบทข้างต้น

ก.  สมบัติทุกชิ้นต้องถูกฝังลงในหลุมศพ                 ข.   ทุกชีวิตล้วนแล้วเดินทางไปสู่ความตาย

ค.   คนมีเกียรติ  ต้องไปพบกันที่หลุมศพ                ง.     อำนาจทำให้บุคลมีความสง่างาม

 

 

 

๕.    ข้อใดแสดงถึงระดับชั้นทางสังคม

                  ก.   เช้าก็ขับโคกระบือถือคันไถ่                                        สำราญใจตามเขตประเทศถิ่น

                 ข.  ทิ้งทั้งหนูน้อยน้อยร่อยร่อยรับ                                     เห็นพ่อกลับปลื้มเปรมเกษมสันต์

                  ค.  บุปชาติชูสีและมีกลิ่น                                                    อยู่ในถิ่นไกลเช่นไพรสณฑ์

                  ง.   ไม่เหมือนอย่างบางศพญาติตกแต่ง                              เครื่องแสดงเกียรติเลิศประเสริฐศรี

 

๖.      ห่วงเอยห่วงอะไร                                                        ไม่ยิ่งใหญ่เท่าห่วงดวงชีวิต

แม้คนลืมสิ่งใดได้สนิท                                                         ก็ยังคิดขึ้นได้เมื่อไกลตาย

คำประพันธ์ข้างต้นนี้มีสิ่งใดที่ไม่ค่อยนิยม  ใช้ในการประพันธ์

ก.  ใช้คำว่า  “ตาย”  ซึ่งเป็นคำไม่เป็นทางการ     ข.  มีคำที่เป็นเสียงอยู่ท้ายวรรค

ค.   มีสัมผัสในอยู่ในทุกๆวรรค                             ง.   ใช้คำเป็นและคำตายสลับกันในทุกวรรค

 

๗.   ข้อใดคือคุณลักษณะของชาวนาที่ผู้เขียนยกย่องมากที่สุด

ก.   ห่างเอ๋ยห่างไกล                                              ห่างจากพวกมักใหญ่ฝักใฝ่หา

ข.   แต่สิ่งซึ่งเหลวใส่อาตมา                                  ความมักน้อยชาวนาไม่น้อมไป

ค.    เพื่อรักษาความสราญฐานวิเวก                      ร่มชื้อเฉกหุบลำเนาไศล

ง.    สันโดษฟุ้งซ่านทะยานใจ                               ตามวิสัยชาวนาเย็นกว่าเอย

 

๘.   ข้อใดต่อไปนี้ใช้กลวิธีทางวรรณศิลป์ เพื่อสร้างอารมณ์และความรู้สึกมากที่สุด

ก.            ไม่เช่นนั้นท่านกวีเช่นศรีปราชญ์                         นอนอนาถาเล่ห์ใบ้ไร้ภาษา

หรือผู้กู้บ้านเมืองเรืองปัญญา                                                                อาจจะมานอนจมถมดินเอย

ข.            ถึงบางที่มีบ้างเป็นอย่างเลิศ                                   เกิดไม่ฉูดฉาดเชิดประเสริฐสุนทร์

พอเตือนใจได้บ้างในทางบุญ                                                               เป็นเครื่องหนุนนำเหตุสังเวชเอย

ค.            ใครจะยอมละทิ้งซึ่งสุข                                         เคยเป็นทุกข์ห่วงใยเสียได้ง่าย

ใครจะยอมละถึงแดนแสนสบาย                                         โดยไม่ชายตาใฝ่อาลัยเอย

ง.             ความร่ำรวยอวยสุขให้ทุกอย่าง                            เหล่านี้ต่างรอตายทำลายขันธ์

วิถีแห่งเกียรติยศทั้งหมดนั้น                                                 แต่ล้วนผันมาประจบหลุมศพเอย

 

๙.            ดวงเอ๋ยดวงจิต                                                       ลืมสนิทกิจการงานทั้งหลาย

ย่อมลละชีพเคยสุขสนุกสบาย                                              เคยเสียดายเคยวิตกเคยปกครอง

ละถิ่นที่สำราญเบิกบานจิต                                                   ซึ่งเคยคิดใฝ่เข้าเป็นเจ้าของ

หมดวิตกหมดเสียดายหมดหมายปอง                                 ไม่ผินหลังเหลียวมองด้วยซ้ำเอย

บทประพันธ์ข้างต้น  สะท้อนความเชื่อใดมากที่สุด

ก.   กรรมและกิเลศ                               ข.   อบายภูมิ          ค.   การเมือง  การปกครอง  ง. วัฏสงสาร

 

 

๑๐.          ซากเอ๋ยซากศพ                                                       อาจเป็นซากนักรบผู้กล้าหาญ

เช่นชาวบ้านบางระจันขันรำบาญ                                         กับหมู่ม่านมาประทุษอยุธยา

ไม่เช่นนั้นท่านกวีเช่นครีปราชญ์                                         นอนอนาถาเล่ห์ใบ้ไร้ภาษา

หรือผู้กู้บ้านเมืองเรืองปัญญา                                                                อาจจะมานอนจมถมดินเอย

ข้อใดต่อไปนี้แสดงให้เห็นถึง “ อัจฉริยลักษณ์ ” ของกวีผู้แต่งบทประพันธ์ข้างต้นได้ชัดเจนที่สุด

ก.   การสอดแทรกคุณธรรมเรื่องความสมัครสมานสามัคคีไว้ภายในบท

ข.   การเพิ่มข้อมูลความรู้เกี่ยวกับวีรกรรมบรรพชนที่ปกป้องชาติ

ค.   การรู้จักดัดแปลงวัฒนธรรมต่างชาติให้เข้ากับวัฒนธรรมไทย

ง.   การใช้สำนวนภาษาที่ปลุกเร้าให้รู้จักมีความกตัญญูกับบ้านเมือง

 

 

 

 

                               

 

                               

 

 

 

 

 

                                               

               

 

 

 

 

                                                               

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

               

 

       

                               

                                                                                                                                                                               

 

 

 

 

 

                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                 

แบบทดสอบ
เขียนเครื่องหมาย X ทับตัวอักษรหน้าคำตอบที่ถูกต้อง
๑.โคลงภาพพระราชพงศวดาร
                ๑.ข้อใดต่อไปนี้คือจุดประสงค์ในการแต่งโคลงภาพพระราชพงศวดาร
                ก.   เพื่อสรรเสริญพระเกียรติพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์
                ข.   เพื่อสรรเสริญเกียรติวีรสตรีของแผ่นดินในอดีต
                ค.   เพื่อสรรเสริญพระเกียรติของอดีตกษัตริย์และข้าราชการ
                ง.   เพื่อสรรเสริญวีรกรรมของวีรบุรุษในสงครามไทยกับพม่า
๒                            ขันมอญร่อนง้าวฟาด            ฉาดฉะ
ขาดแล่นคราบอุระ                                                หรุบดิ้น
โอรสรีบกันพระ                                   ศพสู่ นครแฮ
สูญชีพไปสูญสิ้น                                   พจน์ผู้สรรเสริญ
                โคลงบทที่ยกมานี้มีข้อควรสังเกตด้านฉันทลักษณ์อย่างไร
                ก.   ใช้คำตายในการส่งสัมผัสระหว่างวรรค
                ข.   มีการเล่นสัมผัสสระในบาทแรกค่อนข้างมาก
                ค.   ไม่มีคำสร้อยในบาทแรก วรรคท้ายของโคลง
                ง.    มีการสลับตำแหน่งระหว่างคำเอกและคำโทในบาทแรก
                ๓.                            บุเรงนองนามราชเจ้า             จอมรา มัญเฮย
                                ยกพยุหแสนยา                                       ยิ่งแกล้ว
                                มอญม่านประมวลมา                            สามสิบ หมื่นแฮ
                                ถึงอยุธเยศแล้ว                                       หยุดใกล้นครา
 
เหตุใดผู้เขียนจึงใช้คำว่า “อยุธเยศ” ทั้งที่มีคำว่า “อยุธยา” ใช้อยู่แล้ว
ก.       เพื่อต้องการแสดงความรู้ด้านการใช้คำ
ข.       เพื่อต้องการสื่อถึงชื่อเมืองที่แท้จริง
ค.       เพื่อให้สะดวกในการอ่านทำนองเสนะ
ง.        เพื่อให้สอดคล้องกับฉันทลักษณ์
๔. โคลงบาทใดที่เมื่อพิจารณาด้านศิลปะการใช้ภาษาแล้วแตกต่างจากพวก
ก.   บุเรงนองนามราชเจ้า         จอมรา มัญเฮย
ข.   พลไกรกองน่าเร้า              โรมรัน   กันเฮย
ค.   บังอรอัคเรศผู้                  พิสมัย ท่านนา
ง.   ขุณมอญร่อนง้าวฟาด      ฉาดฉะ
๕.ข้อใดต่อไปนี้เป็นเหตุสำคัญที่สุดที่ทำให้พระสุริโยทัยสิ้นพระชนม์
ก.   มานมนัสกัตเวที              ยิ่งล้ำ
ข.   สารทรงซวดเซผัน           หลังแล่น เตลิดแฮ
ค.   ขับคเชทรเข่นค้ำ             สะอึกสู้ดัสกร
ง.   ขุณมอญร่อนง้าวฟาด       ฉาดฉะ
๖.ศิลปะการใช้คำของกวีในข้อใดมีความโดดเด่นมากที่สุด
ก.   พันกราบทูลทัดด้วย       ท่นทิ้งประเพณี
ข.   ศาลสืบกฤติคุณเค้า          คติไว้ในสยาม
ค.   คลองคดโขนเรือค้ำ        ขัดไม้หักสลาย
ง.   หัวกับโขนเรือต้อง          คู่เส้นทำศาล
๗.คำกราบบังคมทูลว่า “ พันกราบทูลทัดด้วย   ท่านทิ้งประเพณี” แสดงให้เห็นคุณธรรมของพันท้ายนรสิงห์ข้อ ใดมากที่สุด
ก.   ความรับผิดชอบ             ข   ความกตัญญู                     ค.   ความเสียสละ                  ง.   ความเมตตา
๘.การที่พระเจ้าเสือ “ บำเหน็จให้   โทษถนอม   ใจนอ” ทั้งต่อมายังทรง   “ เปลี่ยนโทษปลอมฟันรูปแทนพ่อ” นั้นข้อใดต่อไปนี้เป็นเหตุผลที่ดีที่สุด ที่ทำให้พระเจ้าเสือทรงแสดงพฤติกรรมดังกล่าว
ก.   เพราะทรงรักนายท้ายเรือพระที่นั่งทุกคน
ข.   เพราะเหตุการณ์ในครั้งนี้ไม่ทำให้ทรงได้รับบาดเจ็บ
ค.   เพราะเหตุการณ์ในครั้งนี้เป็นเหตุสุดวิสัย
ง.   เพราะทรงต้อการเปลี่ยนราชประเพณี 
๙.                            “ ภูมีปลอบกลับตั้ง                               ขอบรร ลัยพ่อ
จำสั่งเพชฌฆาตฟัน                                                ฟาดเกล้า ”
                คำประพันธ์ตอนที่ยกมานี้ แสดงให้เห็นความรู้สึกของพระเจ้าเสือในข้อใดมากที่สุด
ก.         เสียใจ                            ข.   ลำบากใจ                         ค.   น้อยใจ                             ง.   ตกใจ
๑๐.จงพิจารณาคำประพันธ์ต่อไปนี้
“ สูญชีพไป่สูญสิ้น                                พจน์ผู้สรรเสริญ ” และ “ ศาลสืบกฤติคุณเค้า       คติไว้ในสยาม ”
ข้อใดต่อไปนี้มิได้เป็น “ เหตุ ” ที่ทำให้เกิดคำประพันธ์ข้างต้น
ก.       ความรับผิดชอบ            ข.   ความกตัญญู                    ค.   ความเสียสละ                  ง.   ความเมตตา
๒.บทเสภาสามัคคีเสวก ตอนวิศวกรรมาและสามัคคีเสวก
                ๑.ข้อใดต่อไปนี้ไม่มีลักษณะความสัมพันธ์ในเชิงเหตุผล
                ก.            อันชาติใดไร้ช่างชำนาญศิลป์                                               เหมือนนารินไร้โฉมบรรโลมสง่า
                ใครใครเห็นไม่เป็นที่จำเริญตา                                             เขาจะพากันเย้ยให้อับอาย
ข.               อันชาติใดไร้ศานติสุขสงบ                                   ต้องมัวรบราญรอนหาผ่อนไม่
ณ ชาตินั้นนรชาติไม่สนใจ                                                  ในศิลปะวิละงดงาม
ค.               ทั้งช่างรูปพรรณสุวรรณกิจ                                  ช่างประดิษฐ์รัชดาสง่าผ่อง                   
อีกช่างถมลายลักษณะจำลอง                                                               อีกช่ำชองเชิงรัตนประกร
ง.                 แต่ชาติใดรุ่งเรืองเมืองสงบ                                  ว่างการรบอริพลอันล้มหลาม
ย่อมจำนงศิลปาสง่างาม                                                         เพื่ออร่ามเรืองระยับประดับประดา
๒.           “ ทั้งช่างปั้นช่างเขียนเพียรวิชา                                            อีกช่างสถาปนาถูกทำนอง
    ทั้งช่างรูปพรรณสุวรรณกิจ                                                              ช่างประดิษฐ์รัชดาสง่าผ่อง ”
                ข้อใดต่อไปนี้มิได้กล่าวถึงในคำประพันธ์ข้างต้น
ก.         ช่างทำเครื่องเงิน          ข.   ช่างทำทอง                       ค.   ช่างก่อสร้าง                     ง.   ช่างพลอย
๓.ข้อใดมีลักษณะของการโน้มน้าวใจผู้ฟัง
ก.   เราต้องซื้อหลากหลายและมากมาย                                                               ต้องใช้ทรัพย์สุรุ่ยสุร่ายเป็นก่ายกอง
ข.   แม้ผู้ใดไม่นิยมชมสิ่งงาม                                                                                เมื่อถึงยามเศร้าอุราน่าสงสาร
ค.   เราช่วยช่างเหมือนอย่างช่วยบ้านเมือง                                          ให้ประเทืองเทศไทยอันไพศาล
ง.   ควรไทยเราช่วยบำรุงวิชาช่าง                                                         เครื่องสำอางแบบไทยสโมสร
๔.            อันของชาติไพรัชช่างจัดสรร                                                               เป็นหลายอย่างต่างพรรณเข้ามาขาย
เราต้องซื้อหลากหลายและมากมาย                                                      ต้องใช้ทรัพย์สุรุ่ยสุร่ายเป็นก่ายกอง
บทประพันธ์ข้างต้นมีความหมายสอดคล้องกับข้อใด
ก.         สมดุล                           ข. ขาดดุล                              ค. เกินขาด                             ง.   งบดุล
๕.เหตุใดพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวหัว จึงเปรียบเทียบผู้ที่ดูถูกงานช่างว่าเป็น “ เหมือนคนป่าคนไพรไม่รุ่งเรือง ”
ก.   เพราะคนป่าคนไพรมีจิตใจมโหด          ข.   เพราะคนป่าคนไพรย่อมไม่เข้าใจอารยธรรม
ค.   เพราะคนป่าคนไพรไร้ค่าไร้ศักดิ์ศรี                             ค.   เพราะคนป่าคนไพรไม่สามารถพูดภาษามาตรฐานได้
๖.ข้อใดคำวิกตรรถกริยา
ก.   เมื่อคลื่นลมแรงจักซัดโซเซ                                                            เรือจะเหล่มคว่ำไป
ข.   นายจะสั่งสิ่งใดไม่เข้าจิต                                                                                จะต้องติดตันใจให้ขัดขวาง
ค.   แม้ลุกเรืออวดดีมีทิฐิ                                                                       และเริ่มริเฉโกยุ่งเยโย
ง.   ประการหนึ่งพึงคิดในจิตมั่น                                                          ว่าทรงธรรม์เหมือนบิดาบังเกิดหัว
๗.ข้อใดมิใช่จุดประสงค์ในการแต่งบทสามัคคีเสวก
ก.   ประการหนึ่งพึ่งคิดในจิตมั่น                                                         ว่าทรงธรรม์เหมือนบิดาบังเกิดหัว
ข.   คอยตั้งใจฟังบังคับกัปปิตัน                                                           นาวานั้นจึ่งจะรอดตลอดทะเล
ค.   นายจะสั่งสิ่งใดไม่เข้าจิต                                                                                จะต้องติดตันใจให้ขัดขวาง
ง.   รักษาตนเคร่งคงตรงวินัย                                                                                สมานใจจงรักพระจักรี
๘.ข้อใดแสดงความสัมพันธ์ไม่ถูกต้อง
ก.   นายเรือ -พระมหากษัตริย์                                              ข.   ลูกเรือ – ราชการชั้นสูง                                                 
ค. นาวา – ประเทศ                                                                ง.   การบังคับเรือ – การบริหารประเทศ                             
๙.ภาพพจน์ในข้อ ๘สอดคล้องกับข้อใดต่อไปนี้
ก.   พาสติกชิ้นนี้แข็งราวกับเหล็ก                        ข.   นักศึกษาลูกแม่โดมมาชุมนุมรำลึกอดีต
ต.   หยาดน้ำค้างตอนเช้างามประหนึ่งเพชรเม็ดงาม           ง.   เสียงทะเลเรียกให้ชายหนุ่มคิดถึงอดีต
๑๐. “เหล่าเสวกตกที่กะลาสี     ควรคิดถึงหน้าที่นั้นเป็นใหญ่” ข้อใดอ่านออกเสียงลักษณะเดียวกับคำที่ขีดเส้นใต้
ก.   ถนน                                 ข.   พิมาน                               ค.   เอนก                                                ง.   แผนก
๓.ศิลาจารึกหลักที่ ๑
                ๑.ข้อความใดต่อไปนี้เป็นภาษาวรรณศิลป์
                ก.   เมื่อกูขึ้นใหญ่ได้สิบเก้าเข้า                                             ข.   เพื่อนจูงวัวไปค้า ขี่ม้าไปขาย
                ค.   พี่กูคายจึ่งได้เมืองแก่กูทั้งกลม                                       ง.   ขุนสามชนเจ้าเมืองฉอดมาท่เมืองตาก
                ๒.ข้อใดต่อไปนี้มิใช่คำยืมจากภาษาเขมร          
                ก.   ขดาร                                                ข.   โอยทาน                          ค.   พนม                                 ง.   ศรัทธา
               
๓.ข้อใดมิใช่ประโยชน์ของการศึกษาศิลาจารึก
                ก.   ทำให้ทราบประวัติศาสตร์ของกรุงสุโขทัย                  ข.   ทำให้ทราบลักษณะทางวัฒนธรรมของคนสุโขทัย
                ค.   ทำให้เข้าใจพระราชประวัติของพ่อขุนรามคำแหง      ง.   ทำให้เข้าใจการสถาปนาพระพุทธสาสนาในอดีต
                ๔.บ่มีช้าง บ่มีม้า บ่มีปั่ว บ่มีนาง บ่มีเงือน บ่มีทอง ลักษณะการใช้ภาษาข้างต้นสอดคล้องกับข้อใด
                ก.   ตูพี่น้องท้องเดียวกันห้าคน ผู้ชายสาม ผู้หญิงโสง        ข.   ตนกูพุ่งช้างขุนวามชนตัวชื่อมาสเมืองแพ้
                ค.   เมื่อชั่วพ่อกู กูบำเรอแก่พ่อกู กูบำเรอแก่แม่กู                               ง.   ไพร่ฟ่าหน้าใสพ่อกูหนีญญ่ายพ่ายจแจ้น
                ๕.ข้อใดมีคำที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของภาษา
                ก.   กูพร่ำบำเรอแก่พี่กู ดั่งบำเรอแก่พ่อกู                             ข.   พ่อกูไปรบขุนสามชน
                ค.   แม่กูชื่องนางเสือง พ่อกูชื่อบานเมือง                            ง.   กูขับเข้าก่อนพ่อกู
                ๖.ข้อใดต่อไปนี้แสดงให้เห้นความกตัญญูของพ่อขุนรามคำแหงมากที่สุด
                ก.   กูได้ตัวเนื้อตัวปลา กูเอามาแก่พ่อกู                                              ข.   เมื่อชั่วพ่อกู กูบำเรอแก่พ่อกู
                ค.   กูขี่ช้างเบกพล กูขับเข้าก่อนพ่อกู                                 ง.   ได้เงือนได้ทอง กูเอามาเวนแก่พ่อกู
                ๗.ข้อใดแสดงความขัดแย้ง
                ก.   พี่กูตายจึ่งได้เมืองแก่กูทั้งกลม                                       ข.   กูขับก่อนพ่อกู กูต่อช้างด้วยขุนวามชน
                ค.   กูพร่ำบำเรอแก่พี่กูดั่งบำเรอแก่พ่อกู                                              ง.   กูได้หมากส้มหมากหวานอันใดกินอร่อยกินดี
                ๘.ข้อใดไม่ถูกต้อง
                ก. แม่ทัพไทยยกกองทัพไปท่พม่า                                      ข.   แม่นากพระโขนงเป็นผีตาบทั้งกลม
                ค.   พระเนศวรต่อช้างกับพระมหาอุปราชา                        ง.   ปีนี้คุณย่าขึ้นใหญ่กว่า ๙๐ ปี
                ๙. “ กูได้ตัวเนื้อตัวปลา   กูเอามาแก่พ่อกู   กูได้หมากหวานอันใดกินอร่อยกินดี กูเอามามาแก่พ่อกู ”
ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับข้อความข้างต้น 
 
 
ก.       ประโยคความเดียวทั้งหมด                                          ข.   ประกอบด้วยประโยคความรวมและความเดียว
ค.   ประกอบด้วยประโยคความซ้อนและความเดียว         ง. ประกอบด้วยประโยคความรวมและความซ้อน
๑๐.ข้อใดไม่มีคำสรรพนาม
ก.   พี่เผือผู้อ้ายตายจากเผือเตียมแต่เล็ก                                                ข.   ตูมีพี่น้องท้องเดียวกันห้าคน
ค.   ไปท่บ้านท่เมืองได้ช้างได้งวง                                        ง.   ตนกูพุ่งช้างขุนสามชน
๔.รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก
                ๑. ข้อใดเป็นสาเหตุที่ทำให้นนทกไปขอนิ้วเพชรจากพระอิศวร
ก.    บ้างให้ตักน้ำล้างบาทา                                                   บ้างถอนเส้นเกศาวุ่นไป
ข.    เป็นชายดูดูมาหมิ่นชาย                                                  มิตายก้อจะได้เห็นหน้า
ต.   จนผมโกร๋นเกลัยงถึงเพียงหู                                          ดูเงาในน้ำแล้วร้องไห้
ง.   ฮึดฮัดขัดแค้นแน่นใจ                                                      ตาแดงดั่งแสงไฟฟ้า
๒.                           เมื่อนั้น                                                    พระอิศวรบรมรังสรรค์
เห็นนนทกโศกาจาบัลย์                                        พระทรงธรรม์ให้คิดเมตตา
จึ่งมีเทวราชบรรหาร                                             เอ็งต้องการสิ่งไรจงเร่งว่า
ตัวกูจะให้ดั่งจินดา                                                                อย่าแสนโศกาอาลัย              
                คำประพันธ์ข้างต้นแสดงให้เห็นข้อบกพร่องของพระอิศวรข้อใดมากที่สุด
ก.       ขาดความรับผิดชอบ                                             ข.   ขาดความไตร่ตรอง
ค.    ขาดสติสัมปชัญญะ                                                                ง.   ขาดสมาธิ
                ๓.                            เมื่อนั้น                                                    หัสนัยน์เจ้าตรัยตรึงศา
                                เห็นนนทกนั้นทำฤทธา                                         ชี้หมู่เทวาวายปราณ
                                ตกใจตะลึงรำพึงคิด                                                              ใครประสิทธิ์ให้มันสังหาร
                                คิดแล้วขึ้นเฝ้าพระทรงญาณ                                 ยังพิมานรัตน์รูจี
คำประพันธ์ข้างต้นกล่าวถึงเทพองค์ใดบ้าง
ก.         พระพรหม พระอิศวร                                                   ข.   พระนารายณ์   พระอินทร์
ค.     พระอินทร์ พระอิศวร                                                    ง. พระอิศวร พระพรหม
๔.                  เมื่อนั้น                                                                 เทวาสุราฤทธิ์ทุกทิศา
            สุบรรณคนธรรพ์วิทยา                                                 ต่างมาเฝ้าองค์พระศุลี                                           
        ฯ .....คำ ฯ...........
ควรเติมคำใดลงในช่องว่าง
ก.        ๒ คำ ,โอด                    ข.  ๔คำ , เสมอ                      ค.   ๒คำ  , เหาะ     ง.   ๔ คำ , เชิด
๕.            ตรัสแล้วจึ่งมีบัญชา                                              ดูราพระนารายณ์เรืองศรี
ตัวเจ้าผู้มีฤทธี                                                                         เป็นที่พึ่งแก่หมู่เทวัญ
จงช่วยระงับดับเข็ญ                                                              ให้เย็นทั่วพิภพสรวงสวรรค์
เชิญไปสังหารอ้ายอาธรรม์                                                   ให้มันสิ้นชิพชีวา
ข้อใดต่อไปนี้เป็นสาเหตุที่ทำให้พระอิศวรตรัสดังกล่าว
ก.        มันกลับทรยศกระบถใจ                                              ทำการหยาบใหญ่ถึงเพียงนี้
ข.       จึ่งทำอาจองทะนงใจ                                                     ไม่เกรงใต้เบื้องบาทา
ค.       ตกใจตะลึงรำพึงคิด                                                      ใครประสิทธิ์ให้มันสังหาร
ง.        กริ้วโกรธร้องประกาสตวาดมา                                    อนิจจาข่มเหงเล่นทุกวัน
เทพนมปฐมพรหมสี่หน้า                                      สอดสร้อยมาลาเฉิดฉิน
ทั้งกวางเดินดงหงส์บิน                                                         กินรินเลียบถ้ำอำไพ
                คำประพันธ์ข้างต้นมีความสำคัญอย่างไร
ก.       เป็นการกล่าวถึงความงดงามของพระนารายณ์           ข. เป็นการชมธรรมชาติที่โดดเด่นมาก
ข.       เป็นบทร้องสำหรับผู้หัดร้องเพลงไทยเดิม                  ง.   เป็นท่ารำแม่บท   สำหรับหัดร่ายรำ
๗.การที่นนทกกล่าวต่อพระนรายณ์ว่า
                “ เหตุใดมิทำซึ่งหน้า                                              มารยาเป็นหญิงไม่บัดสี
ฤาว่ากลัวนิ้วเพชรนี้                                                                               จะชี้พระองค์ให้บรรลัย
ตัวข้ามีมือแต่สองมือ                                                             ฤาจะสู้ทั้งสี่กรได้
แม้นสี่มือเหมือนพระองค์ทรงชัย                                        ที่ไหนจะทำได้ดั่งนี้ ”
นักเรียนเห็นด้วยกับคำของนนทกหรือไม่ เพราะเหตุใด
ก.       เห็นด้วย     เพราะการกระทำของพระนารายณ์ไม่เหมาะสมกับฐานะของพระผู้เป็นเจ้า
ข.       ไม่เห็นด้วย   เพราะนนทกเจ้าเล่ห์ ต้องหากลวิธีปราบไม่ให้รู้ตัว
ค.       เห็นด้วย   เพราะนนทกรู้สึกว่าควรให้พระศิวรฆ่ามากกว่าพระนารายณ์
ง.        ไม่เห็นด้วย    เพราะนนทกมีนิ้วเพชรที่อันตราย ถ้าพระนารายณ์ไม่ปลอบตัวจะกำจัดนนทกได้อยาก
๘.ข้อใดเป็น “พันธสัญญา” ที่ทำให้ทั้งพระนารายณ์และนนทกต้องมาพบกันอีกในชาติต่อมา
ก.            ครั้นแล้วนนทกมรณา                                           พระจักราผู้มีอัชฌาสัย
เหาะระเห็จเตร็ดฟ้าด้วยว่องไว                                             ไปยังกระเษียรวารี
                ข.              ชาตินี้มีแต่สองหัตถ์                                         จงไปอุบัติเอาชาติใหม่
                     ให้สิบเศียรสิบพักตร์เกรียงไกร                                      เหาะเหินเดินได้ในอัมพร
ค.            ตัวข้ามีมือแต่สองมือ                                                                ฤาจะสู้ทั้งสี่กรได้
แม้นสี่มือเหมือนพระองค์ทรงชัย                                        ที่ไหนจะทำได้ดั่งนี้              
ง.               ตัวกูก็คิดเมตตา                                                       แต่จะไว้ชีวาไม่ได้
 ตรัสแล้วแกว่งตรีเกรียงไกล                                                                แสงกระจายพรายไปดั้งไฟกาล
๙.             สุดเอยสุดสวาท                                                    โฉมประหลาดล้ำเทพอัปสร
ทั้งวาจาจริตก็งามงอน                                                           ควรเป็นนางฟ้าฟ้อนวิไลลักษณ์
อันซึ่งธุระของเจ้า                                                                   หนักเบาจงแจ้งประจักษ์
ถ้าวาสนา                เคยบำรุงรัก                                                            ก็จะเป็นภักษ์ผลสืบไป
ตัวพี่มิได้ลวนลาม                                                                 จะถือความสิ่งนี้นี่ไม่ได้
สาวสวรรค์ขวัญฟ้ายาใจ                                                        พี่ไร้คู่จะพึ่งแต่ไมตรี
ลีลาที่ใช้การประพันธ์คำประพันธ์นี้คือข้อใด
                ก.   เสารจนีย์                             ข. นารีปราโมทย์                                 ค. พิโรธวาทัง                       ง. สัลสาปังคพิสัย
               ๑๐.ข้อต่อไปนี้ไม่สัมพันธ์กัน
ก. พระอินทร์ – ตรัยตรึงศา                                                                 ข. พระนารายณ์ - กระเษียรวารี         
ค. พระราม – กรุงลพบุรี                                                                      ง. ท้าวลัสเตียน – กรุงลงกา
๕.กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
๑.                            สุขเกษมเปรมหน้าเหลือบ                                     ลืมหลัง
                แสนสนุกปลุกใจหวัง                                                            วิ่งหรี้
                เดินร่ายผายผันยัง                                                                   ชายป่า
                หัวร่อรื่นชื่นชี้                                                                        ส่องนิ้วชวนแล
ข้อควรสังเกตของคำประพันธ์ข้างต้นคืออะไร
ก.       มีคำเลียนเสียงธรรมชาติ สร้างความไพเราะ                                                 ข. สร้างจินตภาพให้กับผู้อ่าน
ค.    มีการใช้คำที่ดัดแปลงรูปให้ตรงกับฉันทลักษณ์                           ง.   ใช้โวหารเปรียบเทียบที่คมคาย
๒.                                           ดูงูขู่ฝูดฝู                                                    พรูพรู
                                หนูสู่รูงูงู                                                                   สุดสู้
                                งูสู้หนูหนูสู้                                                               งูอยู่
                                หนุรู้งูงูรู้                                                                    รูปถู้มูทู
ข้อใดอาจเป็นจุดอ่อนนของคำประพันธ์บทนี้
                ก. กลวิธีทางวรรณศิลป์             ข.   จินตภาพ               ค.   เนื้อความ              ง.   คุณค่าด้านภาษา               
                ๓.ข้อใดสามารถอธิบายลักษณะของสัตว์ได้ดีที่สุด
                ก.                            หัวลิงหมากลางลิง                                                   ต้นลางลิงแลหูลิง
                                ลิงไต่กระไดลิง                                                                        ลิงโลดคว้าประสาลิง
                ข.                            ธารไหลใสสะอาด                                                   มัจฉาชาติดาษนานา
หวั่นว่ายกินไคลคลา                                                                ตามกันมาให้เห็นตัว
 
ค.                            นกแก้วแจ้วเสียงใส                                                                  คลอไคล้คู่หมู่สาลิกา
นกตั้วผัวเมียคลา                                                                        ฝ่าแขกเต้าเหล่าโนรี
 
ง.                             ไก่ฟ้าอ้าสดแสง                                                          หัวสุกแดงแทงเดือยแนม
ปีกหางต่างสีเแกม                                                                      สีแต้มต่างอย่างวาดเขียน
 
                ๔.ข้อใดต่อไปนี้ไม่เข้าพวก
 
ก.                            นกแก้วแจ้วรี่ร้อง                                                   เร่หา
ข.                            ไก่ฟ้าหน้าก่ำกล้า                                                   ปากแหลม
ค.                            กระจายสยายคลี่ซร้อง                                          นงพนา  
                ง.                             กระจงกระจิดหน้า                                                เอ็นดู
               
๕.ข้อใดต่อไปนี้ใช้สำนวนภาษาที่มีศิลปะมากที่สุด
 
ก.                            ไก่ฟ้าหน้าก่ำกล้า                                                   ปากแหลม
ข.                            หัวแดงแฝงเดือยแนม                                            เนื่องแข้ง
 
ค.                            ปีกหางต่างสีแกม                                                   ลายลวด
 
ง.                             ตัวต่างอย่างคนแกล้ง                                             แต่งแต้มขีดเขียน
 
 
 
๖.ข้อใดคือคุณค่าของกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงที่เด่นชัดที่สุด
 
ก.   การให้ความร็ด้านธรรมชาติวิทยา                                                 ข.   อลังการของภาษา
 
ค.   สืบค่าด้านประวัติศาสตร์                                                                                ง.   ขนบการประพาสของกษัตริย์
 
๗.                                            ฝูงลิงยวบยาบต้น                                   พวาหนา
ฝูงชะนีมี่กู่หา                                                                          เปล่าข้าง
 
ฝูงค่างหว่างพฤกษา                                                                มาสู่
 
ครอกแครกไล่ไขว่คว้าง                                                       โลดเลี้ยวโจนปลิว
 
ก. บทที่ ๑ ภาพพจน์อุปมา                                   ข. ๒ ภาพพจน์บุคคลวัต      
 
ค. ๓ ภาพพจน์อุปลักษณ์                                      ง. ๔  ภาพพจน์สัทพจน์
 
๘.                            งูเขียวแลเหลื้อมพ่น                                               พิษพลัน
ตุ๊กแกคางแข็งขยัน                                                                                คาบไว้
 
กัดงูงูเร่งพัน                                                                           ขนดเครียด
 
ปากอ้างูจึงได้                                                                         ลากล้วงตับกิน
 
โครงบทข้างต้นสอดคล้องกับสำนวนสุภาษิตใด
 
ก. งูกินหาง                                             ข. น้ำมาปลากินมด น้ำลดมดกินปลา     
 
ค. สาวไส้ให้กากิน                                 ง. ปลาใหญ่กินปลาเล็ก        
 
                ๙.ข้อใดต่อไปนี้แตกต่างจากพวก
               
                ก.           สไบบางนางสีดา                                    ห่อห้อย
 
ข.            มีเคี้ยวขาวน้อยช้อย                                               แนบข้างเคียงสอง
.            แสนสนุกปลุกใจหวัง                                            วิ่งหรี้
               
ง.             มัจฉาชาตินานา                                                      หวั่นหว้าย
๑๐.                          ยูงทองย่องย่างเยื้อง                              รำฉวาง
รายร่ายฟ่ายเฟื่องฟาง                                             เฉิดหน้า
 
ปากหงอนอ่อนสำอาง                                           ลายเลิศ
 
รำเล่นเต้นงามหง้า                                                  ปีกป้องเป็นเพลง
 
โคลงบทนี้มีความโดดเด่นด้านใดมากที่สุด
 
ก.   การสร้างอารมณ์ที่เป็นสุขเพราะได้ชมธรรมชาติ
 
ข.   การใช้ถ้อยคำที่สั้นๆ ทำให้เกิดจังหวะกระชับ
 
ค.   การสร้างจินคภาพที่ทำให้เห็นการเคลื่อนไหว
 
ง.  การนำเสนอข้อมูลด้านชีววิทยาของสัตว์ปีก
 
๖.โคลงสุภาษิต พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์
               
                ๑.                            ปัญญาสติล้ำ                                                           เลิศญาณ 
 
อำนาจศักดิ์ศฤงคาร                                                                มั่งขั้ง 
 
มารยาทเรียบเสี่ยมสาร                                                           เสงี่ยมเงื่อน งามนอ 
 
สามสิ่งจักควรตั้ง                                                                   แต่ซ้องสรรเสริญ 
 
ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับโคลงบทนี้
 
                ก. สามสิ่งควรชม คือ ปัญญา เกียรติยศ มารยาท            ข. สามสิ่งควรชม คือ   ญาณ ศฤงคาร สรรเสริญ
 
                ค. สามสิ่งควรชม คือ   งาม มั่งคง อำนาจ                         ง. สามสิ่งควรชม คือ ศักดิ์ศรี ปัญญา ทรัพย์
                ๒.ข้อใดไม่ได้กล่าวถึง “ จิตใจ ”
 
                ก.            ใจโปร่งปราศราคี                                                  ขุ่นข้อง
 
                ข.            จิตแผ่วผ่องสำราญ                                                 รมยสุข   เกษมแฮ
 
                ค.            ความรีกประจักษ์ใจ                                              จริงแน่ นอนฤา
 
                ง.             จิตสะอาดปราศสิ่งพะวง                                       วุ่นขุ่น หมองแฮ
 
                ๓.ข้อใดเมื่อเกิดขึ้นในจิตใจขอบุคคลแล้ว ย่อมระงับความขัดแย้งทั้งปวงได้
 
                ก.            หนึ่งยุติธรรมไป่มี                                                 เลือกผู้
 
ข.            มารยาทเรียนเสี่ยมสาน                                          เสงี่ยมเงื่อน   งามนอ
 
ค.            จิตสะอาดปราศสิ่งพะวง                                       วุ่นขุ่น หมองแฮ
 
ง.             มากเพื่อนผู้วานการ                                                               ชีพได้
 
๔.            ๑.    สุขกายวายโรคร้อน                                       รำคาญ
                ๒.   มากเพื่อนผู้วานการ                                        ชีพได้
                ๓.   จิตแผ่วผ่องสำราญ                                          รมยสุข   เกษมแฮ
                ๔.    สามสิ่งควรจักให้                                           รีบร้อนปรารถนา
 
เมื่อพิจารณาโคลงข้างต้น สิ่งใดควรปรารถนามากที่สุด
 
ก.   ๑                                       ข.   ๒                                      ค.   ๓                                      ง.   ๔
 
๕.            ๑.ปัญญาสติล้ำ                                                       เลิศญาณ 
๒.อำนาจศักดิ์ศฤงคาร                                            มั่งขั้ง 
๓.มารยาทเรียบเสี่ยมสาร                                       เสงี่ยมเงื่อน งามนอ 
๔.สามสิ่งจักควรตั้ง                                                               แต่ซ้องสรรเสริญ 
                เมื่อพิจารณาโคลงบทนี้ สิ่งใดที่ควรชื่นชมมากที่สุด
               
ก.   ๑                                       ข.   ๒                                      ค.   ๓                                      ง.   ๔
                ๖.ข้อใดมิได้กล่าวถึงความสำคัญของเพื่อน
               
                ก.            เว้นบาปเสนาะกัลป์ยาณ์                                                        มิตรไว้
 
                ข.            คนรักร่วมอัธยา -                                                                   ศัยสุข ทุกข์แฮ
 
                ค.            เป็สุขโสดตนรัก                                                                    การชอบ ธรรทนา
 
                ง.             มากเพื่อนผู้วานการ                                                                               ชีพได้
 
                ๗.                            คำยอยกย่องเพี้ยน                                                 ทุกประการ
               
พักตร์จิตผิดกันประมาณ                                                      ยากรู้
 
เร็วรัดผลัดพลันขาน                                                              คำกลับ พลันฤา
 
สามส่วนควรแล้วผู้                                                                                พะพ้องพึงแคลง
 
โคลงบทนี่ใช้ศิลปะการประพันธ์ที่ทำให้เกิดความไพเราะอย่างไร
                               
                ก. ใช้คำเป็นคำตายสลับกันทำให้ได้ดุลของเสียง                              ข.   ใช้คำที่กร่อนเสียงคำและทำให้เกิดจังหวะ
 
                ค.   ใช้สัมผัสเสียงพยัญชนะค่อนข้างมาก                            ง.   สร้างสัมผัสเสียงสระภายในวรรณยุกต์ทุกๆบท
 
                ๘.บุคคลประเภทใดต่อไปนี้ทีไม่ควรคบค้าสมาคมด้วย
 
                ก.            เกียจคร้านการงานทั้ง                                                            การตนก้อดี
                ข.            ทุจริตมารยาปน                                                                     ปกไว้
ค.            ใจบาปจิตหยาบร้าย                                                                               ทารุณ
ง.             พูดมากเปล่าเปลืองตน                                                          ปดเหล้น
 
๙.                            “ มัจฉาชาตินานา                                                  หวั่นหว้าย ”
                                โคลงบทข้างตนนี้สอดคล้องกับข้อใด
 
                ก.            ศาสนาสนสั่งให้                                                                     ประพฤติดี
                ข.            ศรัทธาทำจิตมั่น                                                                                     คงตรง
                ค.            สุขกายวายโลกร้อน                                                              รำคาญ
                ง.             สุจริตจิตโอบออ้ม                                                                 อารี
               
                ๑๐. ข้อใดสอดคล้องกับคติที่ว่า “ จงอย่าประมาณ “
                ก. ฉลาดยิ่งสิ่งแยบคาย                          คาดรู้
                ข. หนึ่งยุตธรรมไป่มี                             เลือกผู้
                ค. สิ่งใดในโลกล้วน                             เปลี่ยนแปลง
                ง. หนึ่งขาดปราศโทสา                          คติห่อ ใจเฮย
               
 โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
๑๑. ข้อใดต่อไปนี้หมายถึงการคิดไตร่ตรองและมีวิจารณญาณ
ก. ปางเมื่อยังโกรธา                               ขุ่นแค้น
ข. ใครเกะกะระราน                              อดกลั้น
ค. ฟังตอบขอบคำไข                            คิดใคร่   ครวญนา
ง. สามารถอาจห้ามงด                            วาจา   ตนเฮย
 
๑๒.      พาทีมีสติรั้ง                                               รอคิด
รอบคอบชอบแลผิด                                             ก่อนพร้อง
คำพูดพ่างลิขิต                                                       เขียนร่าง เรียงแฮ
ฟังเพราะเสนาะต้อง                                               โสตทั้งห่างภัย
ผู้ใดสมควรนำคำสอนอต่อไปนี้มาปฏิบัติมากที่สุด
ก. นักกีฬา                                             ข. พิธีกร ผู้ประกาศทางโทรทัศน์
ค. นักธุรกิจ พ่อค้า แม่ค้า                      ง. ข้าราชการ ทหาร ตำรวจ
 
๑๓. สันติถูกน้องชายต่อว่าด้วยถ้อยคำที่รุนแรงแต่เขาไม่โกรธ สันติปฏิบัติตามสุภาษิตข้อใด
                  ก. รอบคอบชอบแลผิด                                    ก่อนพร้อง
                 ข. ทำคุณอุดหนุนใน                                           การชอบ   ธรรมนา
                 ค. ขันติมีมากหมั้น                                                                สันดาน
                  ง. ไป่หมิ่นนินทาบ้าย                                          โทษให้ผู้ใด
 
๑๔. จากข้อ ๑๓ ถ้าน้องชายสันติสำนึกผิดและมาขอโทษ   แสดงส่าน้องชายของสันติประพฤติตามหลักสุภาษิตใด
                  ก. พาทีมีสติรั้ง                                     รอคิด
                 ข. อีกหนึ่งไป่เชื่อถ้อย                          คำคน ลือแฮ
                 ค. หย่อนทิฐิมานะ                                                อ่อนน้อม
                  ง. เหินห่างดมหะร้อน                          ริษยา
 
๑๕. ข้อใดคือการปฏิบัติตามหลัก    “ กาลามสูตร ”
                 ก. ขอโทษเพื่อคารวะ                                          วายบาด หมางแฮ
                ข. สามารถอาจห้ามงด                                          วาจา ตนแฮ
                 ค. อีกหนึ่งไป่เชื่อถ้อย                                          คำคน ลือแอ
                 ง.   ทำคุณอุดหนุนใน                                           การชอบ ธรรมนา
 
๑๖. ข้อใดสอดคล้องกับสำนวน “ สำเนียงส่อภาษา   กิริยาส่อสกุล ” มากที่สุด
                ก.   เหินห่างโมหะร้อน                                         ริษยา
                ข.   สละส่อเสียดมารยา                                         ใส่ร้าย
                ค.   คำหยาบจาบจ้วงอา -                                       ฆาตขู่ เข็ญเฮย
                ง.   ไป่หมิ่นนินทาบ้าย                                          โทษให้ผู้ใด
โคลงสุภาษิตอิศปปกรณำ
๑๗. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับวรรณคดีเรื่อง อิศปปกรณำ
                ก. มีต้นเค้ามาจากชาติกรีกเมื่อกว่าพันปีก่อน
                ข. ใช้เป็นแบบสอนอ่านสำหรับนักเรียนในอดีต
                ค.   ปรากฏสำนวนไทยครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่๕
                ง.    ทุกบทจะมีการแต่งคติกาพย์เพื่อสรุปข้อคิด
๑๘.   การที่ ชาติบ้านเมืองจะตั้งอยู่ได้ ควรยึดหลักการในข้อต่อไปนี้
                ก.   สบเคราะห์คราวขัดสน                                   สุดรู้
                ข.   หาญหักเอาจนได้                                            ดั้งข้อเขาเอาประสงค์
                ค.   โฉดช้าอุตส่าห์หาญ                                         ห่อนหยุด ยั้งเฮย   
                ง.    ร่วมสู้ร่วมรักษา                                              จิตร่วม รวมแฮ
 
๑๙.             ชาติกักขฬะคุร้าย                                                สันดาน
                   คงจะหาสิ่งพาล                                                   โทษให้
                 ถึงจะกล่าวคำหวาน                                              คำชอบก็ดี
                 หาญหักเอาจนได้                                  ดั้งข้อเขาประสงค์
ข้อใดคือการสรุปโคลงข้างต้นที่ดีที่สุด
ก.   คนพาลมักพูดคำหวานก่อนเสมอ                                  ข.   คนพาลย่อมพาลอยู่วันยังค่ำ
ค.   คนพาลเป็นคนดุร้ายโดยสันดาน                                  ง.    คนพาลย่อมทำลายผู้อื่น
 
๒๐. ในสังคมปัจจุบัน คนที่มีลักษณะเช่นใดน่ากลัวที่สุด
ก.   ชาติกักขฬะดุร้าย                                            สันดาน
ข.   เชื้อวงศ์วายรักร้อย                                          ริษยา กันเฮย
ค.   อย่าควรประมาณผู้                                         ทุรพล
ง.    โฉดช้าอุตส่าห์หาญ                                        ห่อนหยุด   ยั้งเฮย  
๗.กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า
 
๑.                      “ วังเอ๋ยวังเวง                                               หง่างเหง่ง ย่ำค่ำระฆังขาน
ฝูงควายผ้ายลาทิวากาล                                                          ค่อยค่อยผ่านท้องทุ่งมุ่งถิ่นตน
”
 
 ข้อใดใช้โวหารภาพพจน์เช่นเดียวกับคำประพันธ์ข้างต้น
ก.            หมดเอ่ยหมดห่วง                                                  หมดดวงวิญญาณลาญสลาย
 ถึงลมเช้าชวยชื่นรื่นสบาย                                                   เตือนนกแอ่นลมผายแผดลำพึง
ข.            ตัวเอ๋ยตัวสะท้าน                                                   อย่าบันดานดลใจให้ใฝ่ฝัน
                 ดุถูกกิจชาวนาสารพัน                                                         และความครอบครองกันอันชื้นบาน
ค.           นกเอ่ยนกแสก                                                        จับจ้องร้องแจ๊กเพียงแถกขวัญ
อยู่บนยอดหอระฆังบังแสงจันทร์                                       มีเถาวัลย์รุงรังถึงหลังคา
ง.           ทอดเอ่ยทอดทิ้ง                                                      ยามหนาวผิงไฟล้อมอยู่พร้อมหน้า
ทิ้งเพื่อนยากแม่เย้าหาข้าวปลา                                              ทุกเวลาเช้าเย็นเป็นนิรันดร์  
                 ๒.     “ ต้นเอยต้นไทร                                                         สูงใหญ่รากย้อยห้อยระยา
และต้นโพธิ์พุ่มแจ้แผ่ฉายา                                                    มีเนินหญ้าใต้ต้นเกลื่อนกล่นไป
ล้วนร่างคนในเขตประเทศนี้                                                                ดุษณีนอนราย ณ ภายใต้
แห่งหลุมลึกลานสลดระหดใจ                                             เรายิ่งใกล้หลุมนั้นทุกวันเอย”
ความรู้สึกของผู้แต่งคำประพันธ์บทนี้ตรงกับข้อใด
ก.   สงสาร                                 ข.   ปลงตก                                          ค.   ทุกข์               ง. หมดความหวัง
๓.   ข้อใดต่อไปนี้สามารถให้ภาพธรรมชาติยามเช้าได้ชัดเจนที่สุด
ก.    ฝูงวัวควายผ้ายลาทิวากาล                                              ค่อยค่อยผ่านท้องทุ่งมุ่งถิ่นตน
ข.    คอกควายวัวรัวเกราะเปาะเปาะ! เพียง                         รู้ว่าเสียงเกราะแว่วแผ่วแผ่วเอย
ค.    เข้ากอดคอฉอเลาะเสนาะกรรณ                                   สารพันทอดทิ้งทุกสิ่งเอย
ง.    อยู่ตามโรงมุงฟางข้างข้างนั้น                                        ทั้งไก่ขันแข่งดุเหว่าระเร้าเสียง
 
๔.   สกุลเอยสกุลสูง                                              ชักจูงจิตฟูชูศักดิ์ศรี
อำนาจนำความสง่าอ่าอินทรีย์                                               ความงามนำให้มีไมตรีกัน
ความร่ำรวยอวยสุขให้ทุกอย่าง                            เหล่านี้ต่างรอตายทำลายขันธ์
วีถีแห่งเกียรติยศทั้งหมดนั้น                                 แต่ล้วนผันมาประจบหลุมศพเอย
ข้อใดเป็นข้อสรุปที่ดีที่สุดของกลอนบทข้างต้น
ก. สมบัติทุกชิ้นต้องถูกฝังลงในหลุมศพ                 ข.   ทุกชีวิตล้วนแล้วเดินทางไปสู่ความตาย
ค.   คนมีเกียรติ ต้องไปพบกันที่หลุมศพ                ง.     อำนาจทำให้บุคลมีความสง่างาม
 
 
 
๕.    ข้อใดแสดงถึงระดับชั้นทางสังคม
                 ก.   เช้าก็ขับโคกระบือถือคันไถ่                                        สำราญใจตามเขตประเทศถิ่น
                 ข. ทิ้งทั้งหนูน้อยน้อยร่อยร่อยรับ                                     เห็นพ่อกลับปลื้มเปรมเกษมสันต์
                  ค. บุปชาติชูสีและมีกลิ่น                                                    อยู่ในถิ่นไกลเช่นไพรสณฑ์
                  ง.   ไม่เหมือนอย่างบางศพญาติตกแต่ง                              เครื่องแสดงเกียรติเลิศประเสริฐศรี
 
๖.      ห่วงเอยห่วงอะไร                                                        ไม่ยิ่งใหญ่เท่าห่วงดวงชีวิต
แม้คนลืมสิ่งใดได้สนิท                                                         ก็ยังคิดขึ้นได้เมื่อไกลตาย
คำประพันธ์ข้างต้นนี้มีสิ่งใดที่ไม่ค่อยนิยม ใช้ในการประพันธ์
ก. ใช้คำว่า “ตาย” ซึ่งเป็นคำไม่เป็นทางการ     ข. มีคำที่เป็นเสียงอยู่ท้ายวรรค
ค.   มีสัมผัสในอยู่ในทุกๆวรรค                            ง.   ใช้คำเป็นและคำตายสลับกันในทุกวรรค
 
๗.   ข้อใดคือคุณลักษณะของชาวนาที่ผู้เขียนยกย่องมากที่สุด
ก.   ห่างเอ๋ยห่างไกล                                              ห่างจากพวกมักใหญ่ฝักใฝ่หา
ข.   แต่สิ่งซึ่งเหลวใส่อาตมา                                  ความมักน้อยชาวนาไม่น้อมไป
ค.    เพื่อรักษาความสราญฐานวิเวก                      ร่มชื้อเฉกหุบลำเนาไศล
ง.    สันโดษฟุ้งซ่านทะยานใจ                               ตามวิสัยชาวนาเย็นกว่าเอย
 
๘.   ข้อใดต่อไปนี้ใช้กลวิธีทางวรรณศิลป์ เพื่อสร้างอารมณ์และความรู้สึกมากที่สุด
ก.            ไม่เช่นนั้นท่านกวีเช่นศรีปราชญ์                         นอนอนาถาเล่ห์ใบ้ไร้ภาษา
หรือผู้กู้บ้านเมืองเรืองปัญญา                                                                อาจจะมานอนจมถมดินเอย
ข.            ถึงบางที่มีบ้างเป็นอย่างเลิศ                                   เกิดไม่ฉูดฉาดเชิดประเสริฐสุนทร์
พอเตือนใจได้บ้างในทางบุญ                                                               เป็นเครื่องหนุนนำเหตุสังเวชเอย
ค.            ใครจะยอมละทิ้งซึ่งสุข                                         เคยเป็นทุกข์ห่วงใยเสียได้ง่าย
ใครจะยอมละถึงแดนแสนสบาย                                         โดยไม่ชายตาใฝ่อาลัยเอย
ง.             ความร่ำรวยอวยสุขให้ทุกอย่าง                            เหล่านี้ต่างรอตายทำลายขันธ์
วิถีแห่งเกียรติยศทั้งหมดนั้น                                                 แต่ล้วนผันมาประจบหลุมศพเอย
 
๙.            ดวงเอ๋ยดวงจิต                                                       ลืมสนิทกิจการงานทั้งหลาย
ย่อมลละชีพเคยสุขสนุกสบาย                                              เคยเสียดายเคยวิตกเคยปกครอง
ละถิ่นที่สำราญเบิกบานจิต                                                   ซึ่งเคยคิดใฝ่เข้าเป็นเจ้าของ
หมดวิตกหมดเสียดายหมดหมายปอง                                 ไม่ผินหลังเหลียวมองด้วยซ้ำเอย
บทประพันธ์ข้างต้น สะท้อนความเชื่อใดมากที่สุด
ก.   กรรมและกิเลศ                               ข.   อบายภูมิ          ค.   การเมือง การปกครอง ง. วัฏสงสาร
 
 
๑๐.          ซากเอ๋ยซากศพ                                                       อาจเป็นซากนักรบผู้กล้าหาญ
เช่นชาวบ้านบางระจันขันรำบาญ                                         กับหมู่ม่านมาประทุษอยุธยา
ไม่เช่นนั้นท่านกวีเช่นครีปราชญ์                                         นอนอนาถาเล่ห์ใบ้ไร้ภาษา
หรือผู้กู้บ้านเมืองเรืองปัญญา                                                                อาจจะมานอนจมถมดินเอย
ข้อใดต่อไปนี้แสดงให้เห็นถึง “ อัจฉริยลักษณ์ ” ของกวีผู้แต่งบทประพันธ์ข้างต้นได้ชัดเจนที่สุด
ก.   การสอดแทรกคุณธรรมเรื่องความสมัครสมานสามัคคีไว้ภายในบท
ข.   การเพิ่มข้อมูลความรู้เกี่ยวกับวีรกรรมบรรพชนที่ปกป้องชาติ
ค.   การรู้จักดัดแปลงวัฒนธรรมต่างชาติให้เข้ากับวัฒนธรรมไทย
ง.   การใช้สำนวนภาษาที่ปลุกเร้าให้รู้จักมีความกตัญญูกับบ้านเมือง
 
 
 
 
                               
 
                               
 
 
 
 
 
                                               
               
 
 
 
 
                                                               
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
               
 
       
                              
                                                                                                                                                                               
 
 
 
 
 
 
 
 
 
                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                               
 
 
 
 
 
 
               

              

 

 

 

 

 

 

               


PS.  สวัสดีเพื่อนๆทุกคนที่เข้ามาทักทายนะ

แสดงความคิดเห็น

>

25 ความคิดเห็น

aρнч™ 4 มี.ค. 53 เวลา 19:50 น. 2




ยากดีจัง - O -
เรียนแล้วแท้ ๆ ยังทำไม่ค่อยจะได้ 55


PS.  I will be S urg eon . } # I Love u , my dream ' TU74 & Med @ CMU > O<;
0
Are you mad? 16 มิ.ย. 53 เวลา 18:05 น. 5

 ไม่มีเฉลยบ้างรึคะ ? ขอข้อแรกข้อเดียวก็ได้ค่ะ 55555+


PS.  ชีวิตมีทางเลือกเดียว สู้ๆ!!!
0
บิ๊ง 20 ก.ค. 53 เวลา 19:45 น. 6

แล้วเราจะรู้ได้อย่างไรว่า ข้อที่เราเลือกนั้นถูกหรือไม่ถูก
ถ้าคุณไม่มีเฉลยมาให้เราน่ะ !

0